Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9349
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กรรณิกา จันทรสอาด | - |
dc.contributor.author | อุษา สรรค์วัฒนา | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2009-07-27T07:42:58Z | - |
dc.date.available | 2009-07-27T07:42:58Z | - |
dc.date.issued | 2543 | - |
dc.identifier.isbn | 9741310803 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9349 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 | en |
dc.description.abstract | ได้ศึกษาถึงการผลิตกรดโคจิกจากน้ำตาลทราย โดย Aspergillus oryzae K-13 ในถังหมักภายใต้การแปรภาวะบางประการ ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าค่าความเป็นกรดด่างของอาหารเลี้ยงเชื้อและค่าออกซิเจนละลายที่เหมาะสมต่อการเติบโตและการผลิตนั้นแตกต่างกัน เพื่อการเติบโตที่ดีจึงจัดค่าออกซิเจนละลาย และค่าความเป็นกรดด่างของอาหารเลี้ยงเชื้อเท่ากับ 80% ของอากาศอิ่มตัว และ 5.0 ตามลำดับเป็นเวลา 54 ชั่วโมง และเพื่อให้มีการผลิตกรดโคจิกที่มากที่สุดจึงลดปริมาณออกซิเจนละลายลงเป็น 50% ของอากาศอิ่มตัว และค่าความเป็นกรดด่างเท่ากับ 2.5 โดยขนาดของหัวเชื้อที่เหมาะสมคือ 10% (ปริมาตร/ปริมาตร) ภายใต้ภาวะดังกล่าวทำให้ได้ผลผลิตกรดโคจิกเท่ากับ 20.80 กรัมต่อลิตร ภายใน 17 วัน และมีค่าอัตราการผลิตเท่ากับ 0.351 กรัมต่อลิตรต่อวัน การเติมแหล่งคาร์บอนเพิ่มขึ้นในระหว่างการผลิตและการผลิตโดยใช้สายใยซ้ำทำให้เพิ่มผลผลิตได้ | en |
dc.description.abstractalternative | Kojic acid production from cane sugar by Aspergillus oryzae K-13 in a jar fermenter under some varying conditions was studied. The results showed that the optimal pH of medium and dissolved oxygen for growth and for kojic acid production were different. The maximum growth was observed at 80% air saturation of DO and pH at 5.0, the highest kojic acid yield was obtained with lower DO value at 50% air saturation and gradually reduce pH to 2.5. The optimal inoculum size was 10% (v/v). Under conditions mentioned above, the yield of kojic acid was 20.80 g/l with in 17 days and the production rate was 0.351 g/l/d. The addition of more carbon source during cultivation and reused of mycilia could increase the kojic acid yield. | en |
dc.format.extent | 2414720 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | กรดโคจิก | en |
dc.subject | น้ำตาลทราย | en |
dc.subject | แอสเพอกิลลัส | en |
dc.subject | การหมัก | en |
dc.title | การผลิตกรดโคจิกจากน้ำตาลทรายโดย Aspergillus oryzae K 13 ในถังหมัก | en |
dc.title.alternative | Kojic acid production from cane sugar by Aspergillus oryzae K 13 in a jar fermenter | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | จุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรม | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.