Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9414
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิไล วงศ์สืบชาติ-
dc.contributor.authorศิริรัตน์ อุปทินเกตุ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยประชากรศาสตร์-
dc.coverage.spatialนครราชสีมา-
dc.date.accessioned2009-07-30T06:27:11Z-
dc.date.available2009-07-30T06:27:11Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740313752-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9414-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าและศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในเขตเทศบาลนครนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา โดยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากนักเรียน จำนวน 597 ราย ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนมีพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าอยู่ในระดับปานกลาง การวิเคราะห์การถดถอยแบบง่ายพบว่า ทัศนคติเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้า การรับข่าวสารเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้าจากสื่อบุคคล และการรับข่าวสารเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้าจากสื่อมวลชนมีผลทางบวกต่อพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนผลการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุพบว่า กลุ่มตัวแปรอิสระมีผลต่อตัวแปรตามอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยตัวแปรอิสระทั้ง 10 ตัวสามารถอธิบายการแปรผันของพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้ร้อยละ 12.9 และผลการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุขั้นตอนพบว่า ทัศนคติเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้าสามารถอธิบายการแปรผันของพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้ดีที่สุดคือร้อยละ 9.2 รองลงไปคือการรับข่าวสารเกี่ยวกับการประหยัดพลังงานไฟฟ้าจากสื่อบุคคล ซึ่งสามารถอธิบายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 ส่วนตัวแปรอิสระตัวอื่นๆ ไม่ได้เพิ่มอำนาจในการอธิบายการแปรผันของพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThis study investigates electricity-saving behavior and related factors among mattayom suksa 6 students in the Nakhon Ratchasima municipal area. Questionnaires were used and administered to a sample of 597 students. Electricity-saving behavior of students was at a moderate level. Simple regression analysis indicated that of three variables (attitude toward electricity saving; interpersonal communication about electricity saving; and mass-media exposure to electricity saving), each has a positive influence on electricity-saving behavior at the .05 significance level. In addition, multiple regression analysis showed that 10 independent variables explained variations in students' electricity-saving behavior by 12.9 percent. The stepwise multiple regression analysis, however, revealed that the prime factor in explaining the variation of students' electricity-saving behavior was attitude toward electricity saving, 9.2 percent, followed by interpersonal communication about electricity saving, which increased the explanatory power by 2.5 percent, whereas the remaining independent variables did not increase the explanatory power at the .05 significance levelen
dc.format.extent761048 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.234-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการอนุรักษ์พลังงาน -- ไทยen
dc.subjectพลังงานไฟฟ้า -- การอนุรักษ์ -- ไทยen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษา -- ไทยen
dc.titleพฤติกรรมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในเขตเทศบาลนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมาen
dc.title.alternativeElectricity-saving behavior of mattayom suksa 6 students in the Nakhon Ratchasima municipal areaen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประชากรศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorwilai.w@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.234-
Appears in Collections:Pop - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirirat.pdf743.21 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.