Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9482
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิศา ชูโต-
dc.contributor.authorชนะศึก นิชานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2009-08-03T04:06:15Z-
dc.date.available2009-08-03T04:06:15Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741704089-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9482-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะที่พึงปรารถนาของชายและหญิง และพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของคุณลักษณะที่พึงปรารถนาของชายและหญิงไทย รวมทั้งตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 540 คน ตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ตัวแปรแฝง 4 ตัว ซึ่งวัดได้จากตัวแปร สังเกตได้ 11 ตัว คือ คุณลักษณะที่พึงปรารถนา (3 ตัวแปร) รูปแบบการอบรมเลี้ยงดู (3 ตัวแปร) รูปแบบการอบรมเลี้ยงดู (3 ตัวแปร) กระบวนการขัดเกลาในโรงเรียน (2 ตัวแปร) และกระบวนการหล่อหลอมทางสื่อมวลชน (3 ตัวแปร) โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมลิสเรล 8.01 ผลการวิจัยที่สำคัญสรุปได้ดังนี้ 1. คุณลักษณะที่พึงปรารถนาของชายและหญิงไทย ตามการรับรู้ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในกรุงเทพมหานคร รวมทั้งสิ้น 45 คุณลักษณะ ประกอบด้วย คุณลักษณะที่พึงปรารถนาของชาย 9 คุณลักษณะ คุณลักษณะที่พึงปรารถนาของหญิง 9 คุณลักษณะ และคุณลักษณะที่พึงปรารถนาร่วมกันของชายและหญิง 27 คุณลักษณะ 2. โมเดลเชิงสาเหตุคุณลักษณที่พึงปรารถนาของชายและหญิงไทย ประกอบด้วยตัวแปรที่มีผลต่อคุณลักษณะที่พึงปรารถนา 3 ด้าน คือ ด้านรูปแบบการอบรมเลี้ยงดู อันประกอบด้วย ระดับการอบรมเลี้ยงดูแบบเข้มงวดกวดขัน ระดับการอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย และระดับการอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลย ด้านกระบวนการขัดเกลาในโรงเรียน อันประกอบด้วย ลักษณะการคบเพื่อนและการปฏิบัติตัวของครูตามจรรยาบรรณครู สำหรับด้านสุดท้าย คือ ด้านกระบวนการหล่อหลอมทางสื่อมวลชนนั้น อันประกอบด้วย ระดับความชอบชมรายการโทรทัศน์ที่มีประโยชน์ ระดับความชอบฟังรายการวิทยุที่มีประโยชน์ และระดับความชอบอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีประโยชน์ 3. โมเดลที่ผู้วิจัยได้พัฒนามีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ ผลการตรวจสอบความตรงมีค่าไค-สแควร์ (chi-square) เท่ากับ 43.68; p=.082 ที่องศาอิสระเท่ากับ 32 มีค่า GFI เท่ากับ .987 ค่า AGFI เท่ากับ .972 และค่า RMR เท่ากับ 43.68; p=.082 ที่องศาอิสระเท่ากับ 32 มีค่า GFI เท่ากับ .987 ค่า AGFI เท่ากับ .972 และค่า RMR เท่ากับ .029 โมเดลสามารถอธอบายความแปรปรวนในตัวแปรคุณลักษณะที่พึงปรารถนาได้ร้อยละ 25en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study and identify variables of the desirable characteristics of Thai males and females and to develp the causal model as well as to examine of goodness of fitting to the empirical data. The sample was consisted of 540 upper secondary school students in Bangkok Metropolis. The developed model composed of 4 latent variables which measured by the 11 observable variables namely; the desirable characterisitics of males and females (3 variables), socialization of family (3 variables), socialization of school (2 variables), and socialization of mass media (3 variables). Data were collected by questionnaires and analysed by LISREL 8.01 program. The major results were as follows: 1. Desirble characteristics of Thai males and females as perceived by upper secondary school students in Bangkok Metroprolis consisted of 45 characteristics; 9 male characteristics, 9 female characteristics and 27 mutual male and female characteristics. 2 Developed casual model for desirable characteristics of males and females consisted of 3 group of variables. They were socialization of family: level of restrictive pattern of parenting, level of democratic pattern of parenting and level of autonomous pattern of parenting; socialization of schools: close friend characteristics and teacher behaviors in according to teacher ethic; and socialization of mass media: level of watching useful television programs, level of listening useful radio programs and level of reading useful printed materials. 3. The developed model was proved of fitting to the empirical data. The model validation indicated that the Chi-sauare test goodness of fit had 43.68; p=.082, df=32, GFI=.987, AGFI=.972 and RMR=.029. The model accounted for 25% of variance in desirable characteristics of Thai males and females.en
dc.format.extent2102798 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.581-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectบุคลิกภาพen
dc.subjectลิสเรลโมเดลen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาen
dc.subjectการจำแนกประเภทบุคคล (จิตวิทยา)en
dc.titleการพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของคุณลักษณะที่พึงปรารถนาของชายและหญิงไทย ตามการรับรู้ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeThe development of the causal model of desirable characteristics of Thai males and females as perceived by upper secondary school students in Bangkok Metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorNisa.X@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.581-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chanasuek.pdf2.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.