DSpace Repository

Effects of EEG-biofeedback and positive reinforcement on attentional behavior to mathematics activities of attention-deficit/hyperactivity disorder children

Show simple item record

dc.contributor.advisor Sompoch Lamsupasit
dc.contributor.author Supalak Luadlai
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Psychology
dc.date.accessioned 2009-08-25T10:24:28Z
dc.date.available 2009-08-25T10:24:28Z
dc.date.issued 2002
dc.identifier.isbn 9741727968
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/10484
dc.description Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2002 en
dc.description.abstract This study examined the hypothesis that EEG biofeedback and positive reinforcement could improve attentional behavior of 9.5 to 10.5 year-old children with ADHD. Six children (one girl and five boys) participated in this study. The researcher randomly assigned the participants into experimental and control groups with 3 children in each group. All participants were diagnosed with ADHD (in inattentive type) by the physician. Additional assessment, using ADHD-Symptom Inventory and, parent and teacher versions of ADHD/DSM-IV Scales confirmed physicians for all the participants. An ABA Control Group research design was applied. The data was collected into two dimensions, attentional behaviors and beta/theta brainwaves. Child attentional behaviors in both experimental and control groups were compared across baseline and treatment phases by using t-test. Ratio of beta and theta brainwaves of both groups was calculated and then compare with those ratios across baseline and treatment phases by using t-test. The results of attentional behaviors showed that (1) there was no difference in attentional behavior for experimental (M = 7.26, SD = 6.43) and control groups (M = 9.19, SD= 10.96) during baseline phase. (2) The participants in experimental group performed significantly more attentional behavior than control group during the treatment phase [t(38) = 44.009, p< .05]. The results of beta/theta brainwaves ratios showed that (1) there was no difference in the beta/theta brainwaves ratio between experimental (M = 0.99, SD = 0.54) and control groups (M = 0.64, SD = 0.11) during the baseline phase and (2) there was also no difference in beta/theta brainwaves ratio between experimental (M =0.68, SD = 0.10) and control groups (M = 0.63, SD = 0.15) during the treatment phase. en
dc.description.abstractalternative การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการให้ข้อมูลป้อนกลับทางชีวภาพแบบคลื่นสมองและการเสริมแรงทางบวกต่อการเพิ่มพฤติกรรมตั้งใจทำกิจกรรมคณิตศาสตร์ของเด็กอายุระหว่าง 9.5 -10.5 ปี ที่มีอาการสมาธิสั้นและมีพฤติกรรมไม่อยู่นิ่ง กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยเด็กสมาธิสั้นและมีพฤติกรรมไม่อยู่นิ่งจำนวน 6 คน เป็นเด็กหญิง 1 คนและเด็กชาย 5 คน โดยกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์แล้วว่ามีอาการสมาธิสั้นและมีพฤติกรรมไม่อยู่นิ่ง แบบเน้นอาการขาดสมาธิ และเพื่อเป็นการยืนยันการวินิจฉัยของแพทย์ ผู้วิจัยได้ขออนุญาตให้ผู้ปกครองและครูผู้สอนของกลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถาม ADHD-Symptom Inventory และ(ADHD-SI) ADHD/DSM-IV Scales (CADS) ซึ่งผลปรากฏว่ากลุ่มตัวอย่างทั้งหมดเป็นเด็กสมาธิสั้นและมีพฤติกรรมไม่อยู่นิ่ง แบบเน้นอาการขาดสมาธิจริง หลังจากนั้นผู้วิจัยได้แบ่งเด็กออกเป็น 2 กลุ่มโดยการสุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม การทดลองจะใช้วิธีดำเนินการทดลองแบบ ABA Control Group Research Design การเก็บข้อมูลและการวิเคราะห์ผลการวิจัยจะแบ่งออกเป็น 2 มิติคือ พฤติกรรมตั้งใจทำกิจกรรมคณิตศาสตร์และอัตราส่วนการเพิ่มของคลื่นสมองแบบ Beta/Theta ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยการทดสอบทางสถิติแบบ t-test ผลการวิจัยพบว่า (1) ในช่วง Baseline เด็กในกลุ่มทดลอง (M = 7.26, SD = 6.43) และกลุ่มควบคุม (M = 9.19, SD = 10.96) มีพฤติกรรมตั้งใจทำกิจกรรมคณิตศาสตร์ไม่แตกต่างกัน (2) ในช่วง Treatment พบว่าเด็กในกลุ่มทดลองมีพฤติกรรมตั้งใจทำกิจกรรมคณิตศาสตร์สูงกว่าเด็กในกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [t(38) = 44.009, p<.05] ในส่วนของอัตราส่วนการเพิ่มขึ้นของคลื่นสมอง Beta /Theta พบว่า (1) ไม่มีความแตกต่างของการอัตราส่วนการเพิ่มขึ้นของคลื่นสมอง Beta/Theta ของกลุ่มทดลอง (M = 0.99, SD = 0.54) และกลุ่มควบคุม (M = 0.64, SD = 0.11) ในช่วง Baseline (2) ในช่วง Treatment พบว่าอัตราส่วนการเพิ่มขึ้นของคลื่นสมอง Beta/Theta ทั้งในกลุ่มทดลอง (M = 0.68, SD = 0.10) และกลุ่มควบคุม (M = 0.63, SD = 0.15) ไม่มีความแตกต่างกัน en
dc.format.extent 5100107 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso en es
dc.publisher Chulalongkorn University en
dc.rights Chulalongkorn University en
dc.subject Attention-deficit-disordered children en
dc.subject Biofeedback training en
dc.subject Reinforcement (Psychology) en
dc.title Effects of EEG-biofeedback and positive reinforcement on attentional behavior to mathematics activities of attention-deficit/hyperactivity disorder children en
dc.title.alternative ผลของการให้ข้อมูลป้อนกลับทางชีวภาพแบบคลื่นสมองและการเสริมแรงทางบวกต่อพฤติกรรมตั้งใจทำกิจกรรมคณิตศาสตร์ของเด็กสมาธิสั้นและมีพฤติกรรมไม่อยู่นิ่ง en
dc.type Thesis es
dc.degree.name Master of Arts es
dc.degree.level Master's Degree es
dc.degree.discipline Development Psychology es
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en
dc.email.advisor No information provided


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record