dc.contributor.advisor |
จรุงกุล บูรพวงศ์ |
|
dc.contributor.author |
ฑศพล รัตนภากร |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา |
|
dc.date.accessioned |
2009-09-08T03:08:27Z |
|
dc.date.available |
2009-09-08T03:08:27Z |
|
dc.date.issued |
2546 |
|
dc.identifier.isbn |
9741740794 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11002 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 |
en |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบผลของการอภิปรายกลุ่มต่อภาพในความคิดโดยใช้ 2x2 แฟคทอเรียลดีไซน์ ในการตรวจสอบ ผลของการอภิปรายกลุ่ม (กลุ่มที่ไม่อภิปราย และกลุ่มอภิปราย) และการกระจายข้อมูล (เงื่อนไขที่สมาชิกกลุ่มทั้ง 3 คนได้รับข้อมูลพฤติกรรมที่ไม่สอดคล้องกับภาพในความคิดเกี่ยวกับตำรวจไทยจำนวนเท่าๆ กัน และเงื่อนไขที่สมาชิกกลุ่มเพียงคนเดียวได้รับข้อมูลพฤติกรรมส่วนใหญ่ที่ไม่สอดคล้องกับภาพในความคิดเกี่ยวกับตำรวจไทยมากกว่าสมาชิกอีก 2 คน) ต่อภาพในความคิดเกี่ยวกับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นตำรวจไทย ผู้ร่วมการทดลองเป็นนิสิตหญิง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 จำนวน 120 คน ผลการวิจัย พบว่า 1. กลุ่มอภิปรายรับรู้ตำรวจไทยตามภาพในความคิด ประเภทค่าเฉลี่ยไม่แตกต่างจากกลุ่มที่ไม่อภิปราย 2. กลุ่มที่สมาชิกทั้ง 3 คน ได้รับข้อมูลพฤติกรรมที่ไม่สอดคล้องกับภาพในความคิดเกี่ยวกับตำรวจไทยจำนวนเท่าๆกันรับรู้ตำรวจไทยตามภาพในความคิด ประเภทค่าเฉลี่ย ไม่แตกต่างจากกลุ่มที่สมาชิกเพียงคนเดียวได้รับข้อมูลพฤติกรรมส่วนใหญ่ที่ไม่สอดคล้องกับภาพในความคิดเกี่ยวกับตำรวจไทยมากกว่าสมาชิกอีก 2 คน 3. กลุ่มอภิปรายในเงื่อนไขที่สมาชิกทั้ง 3 คน ได้รับข้อมูลพฤติกรรมที่ไม่สอดคล้องกับภาพในความคิดเกี่ยวกับตำรวจไทยจำนวนเท่าๆกันรับรู้ตำรวจไทย ตามภาพในความคิดประเภทค่าเฉลี่ย ไม่แตกต่างจากกลุ่มอภิปรายในเงื่อนไขที่สมาชิกเพียงคนเดียวได้รับข้อมูลพฤติกรรมส่วนใหญ่ที่ไม่สอดคล้องกับภาพในความคิดเกี่ยวกับตำรวจไทยมากกว่าสมาชิกอีก 2 คน 4. กลุ่มอภิปรายรับรู้ตำรวจไทยตามภาพในความคิด ประเภทการประเมินร้อยละ ไม่แตกต่างจากกลุ่มที่ไม่อภิปราย 5. กลุ่มที่สมาชิกทั้ง 3 คนได้รับข้อมูลพฤติกรรมที่ไม่สอดคล้องกับภาพในความคิดเกี่ยวกับตำรวจไทยจำนวนเท่าๆกันรับรู้ตำรวจไทยตามภาพในความคิดประเภทการประเมินร้อยละ ไม่แตกต่างจากกลุ่มที่สมาชิกเพียงคนเดียวได้รับข้อมูลพฤติกรรมส่วนใหญ่ที่ไม่สอดคล้องกับภาพในความคิดเกี่ยวกับตำรวจไทยมากกว่าสมาชิกอีก 2 คน 6. กลุ่มอภิปรายในเงื่อนไขที่สมาชิกทั้ง 3 คน ได้รับข้อมูลพฤติกรรมที่ไม่สอดคล้องกับภาพในความคิดเกี่ยวกับตำรวจไทยจำนวนเท่าๆกันรับรู้ตำรวจไทย ตามภาพในความคิดประเภทการประเมินร้อยละ ไม่แตกต่างจากกลุ่มอภิปรายในเงื่อนไขที่สมาชิกเพียงคนเดียวได้รับข้อมูลพฤติกรรมส่วนใหญ่ที่ไม่สอดคล้องกับภาพในความคิดเกี่ยวกับตำรวจไทยมากกว่าสมาชิกอีก 2 คน 7. กลุ่มอภิปรายรับรู้ความแตกต่างภายในตำรวจไทยตามภาพในความคิดไม่แตกต่างจากกลุ่มที่ไม่อภิปราย 8. กลุ่มที่สมาชิกทั้ง 3 คนได้รับข้อมูลพฤติกรรมที่ไม่สอดคล้องกับภาพในความคิดเกี่ยวกับตำรวจไทยจำนวนเท่าๆกันรับรู้ความแตกต่างภายในตำรวจไทยตามภาพในความคิด ไม่แตกต่างจากกลุ่มที่สมาชิกเพียงคนเดียวได้รับข้อมูลพฤติกรรมส่วนใหญ่ที่ไม่สอดคล้องกับภาพในความคิดเกี่ยวกับตำรวจไทยมากกว่าสมาชิกอีก 2 คน 9. กลุ่มอภิปรายในเงื่อนไขที่สมาชิกทั้ง 3 คนได้รับข้อมูลพฤติกรรมที่ไม่สอดคล้องกับภาพในความคิดเกี่ยวกับตำรวจไทยจำนวนเท่าๆกันรับรู้ความแตกต่างภายในตำรวจไทยตามภาพในความคิด ไม่แตกต่างจาก กลุ่มอภิปรายในเงื่อนไขที่สมาชิกเพียงคนเดียวได้รับข้อมูลพฤติกรรมส่วนใหญ่ที่ไม่สอดคล้องกับภาพในความคิดเกี่ยวกับตำรวจไทยมากกว่าสมาชิกอีก 2 คน 10. กลุ่มอภิปรายประทับใจตำรวจไทย ไม่แตกต่างจาก กลุ่มที่ไม่อภิปราย 11. กลุ่มที่สมาชิกทั้ง 3 คน ได้รับข้อมูลพฤติกรรมที่ไม่สอดคล้องกับภาพในความคิดเกี่ยวกับตำรวจไทยจำนวนเท่าๆ กันประทับใจตำรวจไทย ไม่แตกต่างจากกลุ่มที่สมาชิกเพียงคนเดียวได้รับข้อมูลพฤติกรรมส่วนใหญ่ที่ไม่สอดคล้องกับภาพในความคิดเกี่ยวกับตำรวจไทยมากกว่าสมาชิกอีก 2 คน |
en |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this study was to examine the impact of group discussion on stereotypes. Specifically a 2x2 factorial design was used to examine the effects of group discussion (no discussion groups and discussion groups) and information distribution (dispersed condition and concentrated condition) on stereotypes about a hypothetical target group (the Thai police). The participants (N = 120) in this research were first year female undergraduate students at Chulalongkorn University. The research results are as follows : 1. The perceived stereotypicality of Thai police in terms of means in the discussion groups do not differ significantly from the no discussion groups. 2. The perceived stereotypicality of Thai police in terms of means in the information dispersed groups do not differ significantly from the concentrated groups. 3. The perceived stereotypicality of Thai police in terms of means in the discussion groups with dispersed condition do not differ significantly from the discussion groups with concentrated condition. 4. The perceived stereotypicality of Thai police in terms of percentage estimation in the discussion groups do not differ significantly from the no discussion groups. 5. The perceived stereotypicality of Thai police in terms of percentage estimation in the information dispersed groups do not differ significantly from the concentrated groups. 6. The perceived stereotypicality of Thai police in terms of percentage estimation in the discussion groups with dispersed condition do not differ significantly from the discussion groups with concentrated condition. 7. The perceived stereotypicality of Thai police in terms of perceived dispersion in the discussion groups do not differ significantly from the no discussion groups. 8. The perceived stereotypicality of Thai police in terms of perceived dispersion in the information dispersed groups do not differ significantly from the concentrated groups. 9. The perceived stereotypicality of Thai police in terms of perceived dispersion in the discussion groups with dispersed condition do not differ significantly from the discussion groups with concentrated condition. 10. The perceived stereotypicality of Thai police in terms of impression in the discussion groups do not differ significantly from the no discussion groups. 11. The perceived stereotypicality of Thai police in terms of impression in the information dispersed groups do not differ significantly from the concentrated groups. 12. The perceived stereotypicality of Thai police in terms of impression in the discussion groups with dispersed condition do not differ significantly from the discussion groups with concentrated condition. |
en |
dc.format.extent |
6011538 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
อภิปราย |
en |
dc.subject |
ภาพในความคิด |
en |
dc.subject |
ทัศนคติ |
en |
dc.title |
ผลของการอภิปรายกลุ่มและการกระจายข้อมูลต่อภาพในความคิด |
en |
dc.title.alternative |
Effects of group discussion and information distribution on stereotypes |
en |
dc.type |
Thesis |
es |
dc.degree.name |
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |
es |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
es |
dc.degree.discipline |
จิตวิทยาสังคม |
es |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.email.advisor |
Jarungkul.B@chula.ac.th |
|