DSpace Repository

การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการวิเคราะห์การจำแนกกลุ่ม ภายใต้เมทริกซ์ความแปรปรวนร่วมเท่ากันและไม่เท่ากัน

Show simple item record

dc.contributor.advisor มานพ วราภักดิ์
dc.contributor.author เพ็ญศรี สุวรรณวัฒนภูมิ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
dc.date.accessioned 2009-09-09T10:36:14Z
dc.date.available 2009-09-09T10:36:14Z
dc.date.issued 2546
dc.identifier.isbn 9741752938
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11046
dc.description วิทยานิพนธ์ (สต.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 en
dc.description.abstract เปรียบเทียบประสิทธิภาพของการวิเคราะห์จำแนกกลุ่ม ภายใต้เมทริกซ์ความแปรปรวนร่วมมีค่าเท่ากันและไม่เท่ากัน กฎเกณฑ์ที่ใช้เปรียบเทียบ 3 กฎเกณฑ์ คือ กฎเกณฑ์ความควรจะเป็น กฎเกณฑ์ระยะทางมหาลาโนบิส และกฎเกณฑ์ความน่าจะเป็นภายหลัง ประสิทธิภาพของแต่ละกฎเกณฑ์พิจารณาจากอัตราการจำแนกความถูกต้อง (CCR) โดยกฎเกณฑ์ที่มีค่า CCR สูงสุดเป็นกฎเกณฑ์ที่มีประสิทธิภาพ ในการวิเคราะห์จำแนกกลุ่มมากที่สุด ตัวอย่างการทดสอบของแต่ละกฎเกณฑ์คำนวณมาจากจำนวนตัวแปรที่ใช้จำแนกกลุ่มเท่ากับ 2, 3, 4, 5 และ 6 ระดับสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของตัวแปรที่ใช้จำแนกกลุ่ม 3 ระดับ คือ ระดับต่ำ ระดับปานกลาง และระดับสูง จำนวนกลุ่มที่ใช้ในการจำแนกกลุ่มเท่ากับ 2, 3 และ 4 กลุ่ม เมทริกซ์ความแปรปรวนร่วมในแต่ละกลุ่มมีค่าเท่ากันและมีค่าไม่เท่ากัน และทดลองซ้ำ 1000 ครั้งในแต่ละสถานการณ์ ข้อมูลที่ใช้ศึกษาได้จากการจำลองโดยใช้เทคนิคการจำลอง ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. กรณีเมทริกซ์ความแปรปรวนร่วมมีค่าเท่ากัน เมื่อจำนวนตัวแปรที่ใช้จำแนกกลุ่มเท่ากับ 2 ถึง 6 ที่ทุกระดับสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ และจำนวนกลุ่มที่ใช้จำแนกกลุ่มเท่ากับ 2, 3 และ 4 กลุ่ม กฎเกณฑ์ความควรจะเป็น กฎเกณฑ์ระยะทางมหาลาโนบิส และกฎเกณฑ์ความน่าจะเป็นภายหลังมีประสิทธิภาพไม่ต่างกัน 2. กรณีเมทริกซ์ความแปรปรวนร่วมมีค่าไม่เท่ากัน เมื่อจำนวนตัวแปรที่ใช้จำแนกกลุ่มเท่ากับ 2 ถึง 6 ที่ทุกระดับสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์ และจำนวนกลุ่มที่ใช้จำแนกกลุ่มเท่ากับ 2, 3 และ 4 กลุ่ม กฎเกณฑ์ความควรจะเป็นมีประสิทธิภาพมากที่สุด 3. เมื่อระดับการเปลี่ยนแปลงของความแตกต่างของค่าเฉลี่ย และความแปรปรวนในแต่ละกลุ่มมีค่าเพิ่มขึ้น ทุกกฎเกณฑ์จะมีประสิทธิภาพมากขึ้น en
dc.description.abstractalternative To compare the efficiency of discriminant analysis with equal and unequal covariance matrices. Three rules for comparing are Likelihood rule, Mahalanobis distance rule and Posterior probability rule. The efficiency of each rule is considered by Correct Classification Rate (CCR). The rule which maximum CCR is considered to be the most efficient. Testing samples of each rule calculated under discriminant variables (2, 3, 4, 5, 6), coefficient correlation levels (low, medium, high) , group sizes are 2, 3, 4, equal and unequal covariance matrices and the experiment is repeated 1,000 times for each situation. The sample data of experiment are obtained through the simulation technique. The results of this research can be summarized as follows 1. For equal covariance matrices, discriminant variables are 2, 3, 4, 5, 6, coefficient correlation levels (low, medium, high) and group sizes are 2, 3, 4, Likelihood rule, Mahalanobis distance rule and Posterior probability rule have the same efficiency. 2. For unequal covariance matrices, discriminant variables are 2, 3, 4, 5, 6, coefficient correlation levels (low, medium, high), group sizes are 2, 3, 4, Likelihood rule is the most efficient. 3. The efficiency of each rule increases as difference means and variances increase. en
dc.format.extent 1320021 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject การวิเคราะห์การจำแนกประเภท en
dc.subject การแจกแจงปกติ en
dc.subject การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม en
dc.title การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของการวิเคราะห์การจำแนกกลุ่ม ภายใต้เมทริกซ์ความแปรปรวนร่วมเท่ากันและไม่เท่ากัน en
dc.title.alternative A comparison on the efficiency of discriminant analysis with equal and unequal covariance matrices en
dc.type Thesis es
dc.degree.name สถิติศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline สถิติ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Manop.V@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record