DSpace Repository

การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในพิธีกรรมชุมชน และประเพณีเกี่ยวกับชีวิต : ศึกษากรณีชุมชนลาวโซ่ง จังหวัดสุพรรณบุรี

Show simple item record

dc.contributor.advisor บุญยง ชื่นสุวิมล
dc.contributor.author ประธาน เขียวขำ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์
dc.coverage.spatial สุพรรณบุรี
dc.date.accessioned 2009-09-10T10:04:32Z
dc.date.available 2009-09-10T10:04:32Z
dc.date.issued 2546
dc.identifier.isbn 9741741944
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11085
dc.description วิทยานิพนธ์ (มน.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 en
dc.description.abstract วัตถุประสงค์หลักของวิทยานิพนธ์ เรื่องการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในพิธีกรรมชุมชน และประเพณีเกี่ยวกับชีวิต: ศึกษากรณีชุมชนลาวโซ่ง จังหวัดสุพรรณบุรี คือ การศึกษาสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงในพิธีกรรมชุมชน คือ พิธีบูชาศาลประจำหมู่บ้าน พิธีขึ้นบ้านใหม่ พิธีป้าดตง พิธีเสนเรือน พิธีเสนตัว พิธีแปงขวัญ และการเปลี่ยนแปลงประเพณีเกี่ยวกับชีวิต 4 ด้าน คือ ประเพณีการเกิด ประเพณีการบวช ประเพณีการแต่งงาน และประเพณีการตาย โดยสมมติฐาน 8 ข้อ ต่อไปนี้ 1. การรับนวัตกรรมทางวัตถุ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพิธีกรรมชุมชน 2. การรับนวัตกรรมที่มิใช่วัตถุ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพิธีกรรมชุมชน 3. แผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพิธีกรรมชุมชน 4. การพัฒนาของหน่วยงานภาครัฐ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพิธีกรรมชุมชน 5. การคมนาคม ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงประเพณีชีวิตในชุมชน 6. ระบบการศึกษาทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงประเพณีชีวิตในชุมชน 7. สื่อทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงประเพณีชีวิตในชุมชน 8. การย้ายถิ่นทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงประเพณีชีวิตในชุมชน การศึกษานี้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยทางมานุษยวิทยาและกำหนดเอาหมู่บ้านดอนมะเกลือ ตำบลดอนมะเกลือ อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นสนามวิจัย ซึ่งข้อมูลประจักษ์เหล่านี้ยืนยันว่าสมมติฐานทั้ง 8 ข้อ มีความถูกต้อง ในบทสุดท้ายของวิทยานิพนธ์หลังจากสรุปผลการศึกษาแล้วผู้ศึกษาได้กล่าวถึงปัญหาต่างๆ ที่ได้พบในระหว่างการวิจัย พร้อมทั้งเสนอแนะทั้งด้านวิชาการและในทางปฏิบัติเพื่อใช้ประโยชน์จากวิทยานิพนธ์นี้ en
dc.description.abstractalternative The main purpose of the thesis, namely Culture Change in Community and Life Crisis Rituals : a case study of Lao Song Community, Suphanburi Province, using anthropological methods, is to study the main causes which change in community and life crisis rituals with the following 8 hypotheses; 1. Material Innovation causes a change in community ritual. 2. Non-Material Innovation causes a change in community ritual. 3. National Economic and Social Development Plan causes a change in community ritual. 4. The development in government sector causes a change in community ritual. 5. Modern Communication causes a change in life crisis ritual. 6. Education causes a change in life carisis ritual. 7. Media causes a change in life crisis ritual. 8. Migration causes a change in life carisis ritual. This thesis has used the empirical data from Ban Donmaklir, Tambon Donmaklir, Ampher U-Thong, Suphanburi Province in the middle part of Thailand for study. All of these data confirm all the stated hypotheses. Finally, this study also concludes the en-countered problems and makes ineresting recommendations theoretically and practically. en
dc.format.extent 2521798 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject การเปลี่ยนแปลงทางสังคม en
dc.subject ชุมชนลาวโซ่ง (สุพรรณบุรี) en
dc.subject โซ่ง -- ความเป็นอยู่และประเพณี en
dc.subject พิธีทางศาสนาและพิธีกรรม en
dc.title การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในพิธีกรรมชุมชน และประเพณีเกี่ยวกับชีวิต : ศึกษากรณีชุมชนลาวโซ่ง จังหวัดสุพรรณบุรี en
dc.title.alternative Culture change in community and life crisis rituals : a case study of Lao Song Community, Suphan Buri Province en
dc.type Thesis es
dc.degree.name มานุษยวิทยามหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline มานุษยวิทยา es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Boonyong.C@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record