DSpace Repository

การควบคุมอุณหภูมิและความชื้นโดยใช้ความร้อนจากคอนเดนเซอร์ ของเครื่องปรับอากาศเพื่อการประหยัดพลังงาน

Show simple item record

dc.contributor.advisor ฤชากร จิรกาลวสาน
dc.contributor.author สมคิด ไชยรัตน์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2009-10-01T02:38:31Z
dc.date.available 2009-10-01T02:38:31Z
dc.date.issued 2542
dc.identifier.isbn 9743333959
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11422
dc.description วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 en
dc.description.abstract โครงการวิจัยนี้ เป็นการนำพลังงานความร้อนจากคอนเดนเซอร์ (Reheat Coil) มาลดความชื้นสัมพัทธ์ภายในห้องปรับอากาศ ที่ต้องการควบคุมความชื้นสัมพัทธ์อย่างแม่นยำเพื่อการประหยัดพลังงาน ซึ่งจะทดลองกับเครื่องปรับอากาศแบบแยกส่วนขนาด 30,000 Btu/hr และใช้ Reheat Coil ขนาดประมาณ 30% ของคอนเดนเซอร์เดิม (ติดตั้งอยู่ที่ Condensing Unit) โดยนำไปติดตั้งไว้ที่ Fan Coil Unit เพื่อทำหน้าที่ลดความชื้นสัมพัทธ์ภายในห้องปรับอากาศ และจะทำการทดลองที่ Room Sensible Heat Ratio ต่ำสุดเท่ากับ 0.05 จากผลการวิจัยพบว่าพลังงานความร้อนจากคอนเดนเซอร์ (Reheat Coil) สามารถลดความชื้นสัมพัทธ์ภายในห้องปรับอากาศได้ประมาณ 10-15% RH โดยที่ค่า COP ขณะ Reheat เมื่อเทียบกับระบบเดิมจะเพิ่มขึ้นประมาณ 5% และค่าลงทุนที่เพิ่มขึ้น สามารถชดเชยค่าพลังงานความร้อนของระบบเดิม ซึ่งใช้ความร้อนในการ Reheat จากฮีทเตอร์ไฟฟ้าประมาณ 2 ปี en
dc.description.abstractalternative To conduct heat energy from a condenser (reheat coil) to reduce relative humidity in the room, where its relative humidity is controlled precisely in order to save energy. By installing the reheat coil, whose size is 30% of condenser, in the fan coil unit of 30,000 Btu/hr split type air conditioner and the experiment was performed at the minimum room sensible heat ratio of 0.50. The experiment indicated that the heat energy from the reheat coil could reduce relative humidity about 10%-15% RH also COP of the unit using condenser reheat system increased about 5% from the COP of the normal unit. Moreover, the increased cost of the condenser reheat system compared with the conventional electric reheat system can be compensated with electric heater energy saving cost after using this unit 2 years. en
dc.format.extent 905492 bytes
dc.format.extent 875607 bytes
dc.format.extent 916930 bytes
dc.format.extent 815325 bytes
dc.format.extent 1868707 bytes
dc.format.extent 1018947 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ความชื้น en
dc.subject ความร้อน en
dc.subject การปรับอากาศ en
dc.title การควบคุมอุณหภูมิและความชื้นโดยใช้ความร้อนจากคอนเดนเซอร์ ของเครื่องปรับอากาศเพื่อการประหยัดพลังงาน en
dc.title.alternative Temperature and humidity control using heat from the condenser of an air conditioner for energy saving en
dc.type Thesis es
dc.degree.name วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline วิศวกรรมเครื่องกล es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Richakorn.C@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record