dc.contributor.author |
อุบลรัตน์ สิริภัทราวรรณ |
|
dc.contributor.author |
Harte, Bruce |
|
dc.contributor.author |
สุวัสสา พงษ์อำไพ |
|
dc.contributor.author |
สุภาภรณ์ ดั๊กกลาส |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
Michigan State University. School of Packaging |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2009-11-26T09:40:02Z |
|
dc.date.available |
2009-11-26T09:40:02Z |
|
dc.date.issued |
2550 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11719 |
|
dc.description |
โครงการวิจัยเสนอ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย |
en |
dc.description.abstract |
ศึกษาการยืดอายุการเก็บรักษาของชาเชียวใบหม่อน (Morus alba Linn) โดยใช้ชนิดของบรรจุภัณฑ์และภาวะการบรรจุที่แตกต่างกัน ได้แก่ ถุงพลาสติก polypropylene และบรรจุภายใต้บรรยากาศปกติ (PP) ถุง nylon และบรรจุภายใต้บรรยากาศปกติ (PA) ถุง nylon และบรรจุภายใต้ภาวะสุญญากาศ (V-PA) ถุง aluminum และบรรจุภายใต้บรรยากาศปกติ (AL) และถุง aluminum บรรจุภายใต้ภาวะสุญญากาศ (V-AL) เก็บรักษาที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 70% เป็นเวลา 12 เดือน ติดตามการเปลี่ยนแปลงของ ค่า water activity ค่าสี (L, a, b values และ [triangle]E), ปริมาณ total phenolic compounds, total flavonoids, catechin, rutin, quercetin และ kaemterol และประเมินผลทางประสาทสัมผัสของผลิตภัณฑ์ชาใบหม่อนทางด้าน สี และกลิ่น และน้ำชา ทางด้าน สี กลิ่น และรสชาติ ทุก 30 วัน พบว่าในระหว่างการเก็บรักษา ค่า water activity ของผลิตภัณฑ์มีค่าสูงขึ้นและปริมาณ total phenolic compounds, total flavonoids, catechin, rutin, quercetin และ kaemferol ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ (p[is less than or equal to]0.05) เมื่อระยะเวลาการเก็บรักษาเพิ่มขึ้น และพบว่าชนิดของบรรจุภัณฑ์และภาวะการบรรจุส่งผลต่อค่า water activity ค่าสี ปริมาณ total phenolic compounds ปริมาณ total flavonoids และคุณภาพทางประสาทสัมผัสของผลิตภัณฑ์ชาเขียวใบหม่อนอย่างมีนัยสำคัญ (p[is less than or equal to]0.05) ผลิตภัณฑ์ที่เก็บรักษาในบรรจุภัณฑ์ AL มีความแตกต่างจากตัวอย่างเริ่มต้นน้อยกว่าผลิตภัณฑ์ที่บรรจุใน PA และ PP ตามลำดับ และการบรรจุภายใต้ภาวะสุญญากาศช่วยรักษาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ได้ดีกว่าการบรรจุภายใต้บรรยากาศปกติ จากการวิเคราะห์ทางประสาทสัมผัสโดยผู้ทดสอบที่ผ่านการฝึกฝน และกำหนดให้ผลิตภัณฑ์ไม่เป็นที่ยอมรับเมื่อคะแนนมีค่าต่ำกว่า 5 คะแนน พบว่า ผลิตภัณฑ์ชาเขียวใบหม่อนที่เก็บรักษาใน PP, PA และ V-PA มีอายุการเก็บนาน 5, 7 และ 7 เดือน ตามลำดับ ส่วน AL มีอายุการเก็บนาน 10 เดือน ในขณะที่ผลิตภัณฑ์ใน V-AL มีอายุการเก็บนานถึง 12 เดือน จากผลการทดลองจึงสรุปได้ว่า ภาวะการบรรจุที่เหมาะสมสำหรับผลิตภัณฑ์ชาเขียวใบหม่อนเรียงลำดับจากมากที่สุดไปน้อยที่สุด คือ V-AL > AL > V-PA = PA > PP |
en |
dc.description.abstractalternative |
To prolong shelf-life of mulberry (Morus alba Linn) leaf tea packaged in different packaging materials and conditions. The mulberry leaf tea was packaged in polypropylene bag under atmospheric air (PP), nylon bag under atmospheric air (PA), nylon bag under vacuum condition (V-PA), aluminum bag under atmospheric air (AL) and aluminum bag under vacuum condition (V-AL) and stored at 30[degrees Celsius] and 70% RH. Changes in water activity, colors (L, a, b values and [triangle]E), total phenolic compounds, total flavonoids, and sensory quality of the mulberry leaf (color and odor) and tea liquor (color, odor and flavor) were determined at 30 days interval. The results showed that packaging materials significantly affected (p [is less than or equal to] 0.05) water activity, colors, total phenolic compounds and total flavonoids of the product. The quality of mulberry tea decreased (p [is less than or equal to] 0.05) with storage period. AL could maintain quality of the product significantly better (p [is less than or equal to] 0.05) than PA and PP, respectively. Moreover, products packaged under vacuum condition had better quality than those under atmospheric air. The sensory quality of the product was also evaluated by ten trained panelists using scoring test, assuming that the products were rejected when the sensory score was lower than 5. It was found that mulberry leaf tea packaged in PP, PA, V-PA, and AL had shelf life of 5, 7, 7 and 10 months, respectively, while tea packaged in V-AL could be stored for up to 12 month. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนสนับสนุนจาก ทุนงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2550 |
en |
dc.format.extent |
5068549 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
ชาเขียวใบหม่อน |
en |
dc.subject |
อาหาร -- การเก็บและรักษา |
en |
dc.subject |
อาหาร -- การบรรจุหีบห่อ |
en |
dc.title |
เทคโนโลยีบรรจุภัณฑ์เพื่อรักษาคุณภาพและยืดอายุการเก็บรักษาของชาเขียวใบหม่อน (เพื่อการส่งออก) : รายงานการวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
Packaging technology to preserve qualities and extend shelf life of mulberry leaf tea (for export) |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|
dc.email.author |
suwassa.pon@kmutt.ac.th |
|
dc.email.author |
supaporn.chu@kmutt.ac.th |
|