dc.contributor.author |
เปรมจิตต์ แทนสถิตย์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2009-12-21T11:19:42Z |
|
dc.date.available |
2009-12-21T11:19:42Z |
|
dc.date.issued |
2545 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11880 |
|
dc.description.abstract |
พัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้การมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ด้วยตนเองต่อสัมฤทธิผลของนิสิต ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาลำดับขั้นตอนของชีวิต ภาคปลายปีการศึกษา 2544 โดยนิสิตกลุ่มทดลองคือ นิสิตตอน 1 จำนวน 59 คน ได้รับการสอนแบบการเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านสื่อต่างๆ เสริมการเรียนรู้แบบการีส่วนร่วม ส่วนนิสิตกลุ่มควบคุมคือ นิสิตตอน 2 จำนวน 11 คน ใช้วิธีสอนแบบการบรรยายเน้นการอภิปราย การวิจัยนี้ ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยและออกแบบการทดลองโดยใช้ Factorial design เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง 3 ลักษณะคือ พื้นการศึกษา (กลุ่ม) ชั้นปีและเพศ ทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ของวิชาลำดับขั้นตอนของชีวิต รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติ ผลการวิจัยพบว่า นิสิตกลุ่มทดลองที่ได้รับการสอนแบบที่พัฒนาขึ้นมีผลสัมฤทธิ์ไม่แตกต่างจากนิสิตกลุ่มควบคุมที่ใช้การบรรยาย ประกอบการอภิปราย ที่ระดับความมีนัยสำคัญ 0.05 (t < 1.98) และนิสิตปีที่ 1 กลุ่มที่พื้นวิทยาศาสตร์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านิสิตชั้นปีอื่นๆ กลุ่มที่ไม่มีพื้นวิทยาศาสตร์ และนิสิตที่เรียนภาคปลายจำนวนน้อย (70 คน) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านิสิตที่เรียนภาคต้น ที่มีจำนวนมากกว่า (283 คน) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ P <= 0.05 (t > 1.98) ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวน 3 ลักษณะระหว่างกลุ่ม เพศ และชั้นปี พบว่า มีความสัมพันธ์ 2 ลักษณะระหว่างชั้นปี และพื้นการศึกษา (กลุ่ม) (F=6.482) แต่ไม่พบความสัมพันธ์ในทั้ง 3 ลักษณะ (F=0.448) และจากผลการสำรวจความพึงพอใจของการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น 30% ของนิสิตกลุ่มทดลองที่ส่งแบบสำรวจคืน พอใจ |
en |
dc.description.abstractalternative |
To develop the teaching-learning methods using participatory approach and self-directed learning on the achievement of students who registered “The Strategy of Life” in the second semester of the 2001 academic year. The 283 students in the first semester were used as subjects in this case. The 59 students in the experimental group were taught by using the developed teaching-learning methods where as the 11 students in the control group were taught by using lectures and discussion methods. The research was designed by using statistical hypothesis testing of the difference of the arithmetic mean. Factorial design is used to compare the interactions between 3 categories (sex, class and group). The achievement test in “The Stategy of Life” was found that students taught by using developed teaching-learning methods had no significant differences comparing those taught by lectures and discussion methods at p <= 0.05 (t < 1.98) the freshman students in science group had a significant higher achievement than the students in the other class and non-science group. The 70 students in the second semester had a significant higher achievement than the 283 students in the first semester at p <= 0.05 (t > 1.98). The interactions between class and group had significant differences at p <= 0.05 (F=6.482) but there was no interactions among class, group and sex. The result of student’s attitude showed that 30% of the students in the experimental group satisfied the developed teaching-learning methods. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช |
en |
dc.format.extent |
1302825 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
การเรียนรู้ด้วยการนำตนเอง |
en |
dc.subject |
นิเวศวิทยา -- การศึกษาและการสอน |
en |
dc.title |
การมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ด้วยตนเองในวิชาด้านวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม : รายงานผลการวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
Participatory approach and self-directed learning in environmental science course |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
ไม่มีข้อมูล |
|