DSpace Repository

The effect of post and cement types on vertical root fracture resistance in endodontically treated teeth

Show simple item record

dc.contributor.advisor Veera Lertchirakarn
dc.contributor.author Chalermkwan Chantarat, 2529-
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Dentistry
dc.date.accessioned 2006-05-29T03:14:00Z
dc.date.available 2006-05-29T03:14:00Z
dc.date.issued 2003
dc.identifier.isbn 9741734832
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/118
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2003 en
dc.description.abstract This in vitro study evaluated the vertical fracture resistance of human extracted maxillary central incisors in six experiment groups. Two different types of luting cement (resin and zinc phosphate cement) and three different post materials (stainless steel, carbon fiber, and casted non-precious metal post) were used. The load was applied vertically at the cross-head speed 0.5 mm/min. All groups showed vertical root fracture except root that restored with cast post and core. Carbon fiber post cemented with resin cement showed the highest mean vertical fracture load at 3,517.30 +- 354.34 N, followed by stainless steel post cemented with resin cement, 3,368.90 +- 236.91 N, and carbon fiber post cemented with zinc phophate cement, 2,830.90 +- 236.91 N, respectively. Stainless steel post cemented with zinc phosphate cement provided the lowest mean vertical fracture load (2,549.60 +- 356.19 N). Statistic analysis by 2-way ANOVA (P is less than or equal to 0.05) showed that types of cement have an influence on vertical root fracture load. On the other hands, types of post showed no effect on vertical fracture load. There is also no interaction of post types and cement types on vertical fracture load. The majority of vertical root fracture patterns occurred in labio-lingual direction. The fracture line did not extend further than level of the post tip. Furthermore, there was no root canal cement or luting cement extruded into the fracture surface in every group of samples. en
dc.description.abstractalternative การทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะมุ่งศึกษาผลของชนิดของเดือย และซีเมนต์ที่มีต่อความต้านทานการแตกของรากฟันตามแนวแกนในฟันแท้ที่ได้รับการรักษาคลองรากฟันและทำการบูรณะด้วยวิธีต่างๆ 6 วิธี ชนิดของซีเมนต์ที่เลือกใช้มี 2 ชนิดได้แก่ ซิงค์ฟอสเฟตซีเมนต์และเรซินซีเมนต์ ชนิดของเดือยที่ใช้มี 3 ชนิดได้แก่ เดือยที่ทำจากโลหะหล่อไม่มีตระกูล เดือยที่ทำจากโลหะไร้สนิม และเดือยเส้นใยคาร์บอน ผลการศึกษาพบว่ารากฟันในทุกกลุ่มเกิดการแตกในแนวแกน ยกเว้นกลุ่มที่รากฟันบูรณะด้วยเดือยโลหะหล่อ ส่วนค่าความต้านทานในการแตกหักในแนวแกนของกลุ่มที่เหลือ พบว่ารากฟันที่บูรณะด้วยเดือยเส้นใยคาร์บอนและยึดด้วย เรซินซีเมนต์ได้ค่าความต้านทานการแตกหักสูงที่สุด (3,517.30 +- 354.34 นิวตัน) รองลงมาได้แก่กลุ่มที่บูรณะด้วยเดือยที่ทำจากโลหะไร้สนิมที่ยึดด้วยเรซินซีเมนต์ (3,368.90 +- 236.91 นิวตัน) และกลุ่มเดือยเส้นใยคาร์บอนที่ยึดด้วยซิงค์ฟอสเฟตซีเมนต์ (2,830.90 +- 236.91 นิวตัน) ตามลำดับ ในขณะที่กลุ่มที่ได้ค่าความต้านทานในการแตกหักตามแนวแกนต่ำที่สุดได้แก่กลุ่มที่บูรณะด้วยเดือยโลหะไร้สนิมยึดด้วยซิงค์ฟอสเฟตซีเมนต์ (2,549.60 +- 356.19 นิวตัน) ผลการวิเคราะห์ทางสถิติโดยการใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง ที่ระดับนัยสำคัญ 95% พบว่า ชนิดของซีเมนต์มีผลต่อค่าความต้านทานการแตกหักในแนวแกน ในขณะที่ชนิดของเดือยไม่มีผล นอกจากนี้ยังไม่พบว่ามีอิทธิพลร่วมระหว่างชนิดของเดือยร่วมกับซีเมนต์ที่มีต่อความต้านทานการแตกอีกด้วย ทิศทางของการแตกเกิดขึ้นในแนวด้าน ริมฝีปาก-ด้านลิ้นมากกว่าในแนวใกล้กลาง-ไกลกลาง และยังไม่พบว่ามีรอยแตกใดขยายลงไปเกินกว่าระดับของเดือยที่ใส่ลงในคลองรากฟัน นอกจากนี้ผลการทดลองในส่วนที่สังเกตภายใต้กล้องจุลทรรศน์ อิเลคตรอนชนิดส่องกราด ไม่พบว่ามีซีเมนต์สำหรับอุดคลองรากฟันหรือซีเมนต์ที่ใช้ยึดเดือยซึมเข้าไปในรอยแตกของรากฟัน
dc.format.extent 1002212 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso en en
dc.publisher Chulalongkorn University en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2003.1293
dc.rights Chulalongkorn University en
dc.subject Cement en
dc.subject Dental pulp cavity en
dc.title The effect of post and cement types on vertical root fracture resistance in endodontically treated teeth en
dc.title.alternative ผลของชนิดของเดือยและซีเมนต์ต่อความต้านทานการแตกของรากฟันตามแนวแกนในฟันที่รักษาคลองรากฟันแล้ว en
dc.type Thesis en
dc.degree.name Master of Science en
dc.degree.level Master's Degree en
dc.degree.discipline Operative Dentistry en
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en
dc.email.advisor Veera.L@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2003.1293


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record