DSpace Repository

กล กายภาพ และชีวสมบัติของโครงเนื้อเยื่อจากวัสดุประกอบนาโนของไฮยารูโรแนน-เจลาติน ที่เสริมแรงด้วยผลึกนาโนของอัลฟ่าไคติน : รายงานผลการวิจัย

Show simple item record

dc.contributor.author พิชญ์ ศุภผล
dc.contributor.author ถนอม บรรณประเสริฐ
dc.contributor.author ปรินทร หริรักษาพิทักษ์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี
dc.date.accessioned 2009-12-28T08:55:17Z
dc.date.available 2009-12-28T08:55:17Z
dc.date.issued 2552
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11907
dc.description.abstract โครงเนื้อเยื่อที่ผลิตจากโพลิเมอร์ธรรมชาติมีกลสมบัติต่ำ ไม่เหมาะกับการซ่อมสร้างเนื้อเยื่อที่ต้องการความแข็งแรง งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโครงเนื้อเยื่อธรรมชาติด้วยวิธีแช่เยือกแข็งและระเหิดวัสดุประกอบไฮยารูโรแนน-เจลาตินเสริมแรงด้วยผลึกอัลฟ่าไคติน โดยศึกษาถึงผลของปริมาณผลึกไคตินในสัดส่วน 0, 2, 5, 10, 20, และ 30 % ต่อน้ำหนักโพลิเมอร์ที่มีต่อคุณสมบัติของโครงเนื้อเยื่อ พบว่า โครงเนื้อเยื่อมีโครงสร้างภายในเป็นรูพรุนต่อเนื่องขนาดประมาณ 150 ไมโครเมตร การเสริมแรงด้วยผลึกไคตินขนาดเฉลี่ย 250 x 30 นาโนเมตร (กว้างxยาว) ไม่มีผลต่อโครงสร้างสัณฐานและการดูดซึมน้ำของโครงเนื้อเยื่อ ผลึกไคติน 2% ทำให้โครงเนื้อเยื่อมีความแข็งแรงดึงสูงกว่ากลุ่มอื่น 2 เท่า ผลึกไคติน 20-30% เพิ่มความทนทานต่ออุณหภูมิสูงและการย่อยสลาย ขณะที่ผลึกไคติน 10% ให้ผลของการเจริญเพิ่มจำนวนเซลล์กระดูกดีที่สุด การปรับปรุง กลสมบัติ กายภาพสมบัติ และชีวสมบัติของโครงเนื้อเยื่อจึงต้องเสริมแรงด้วยปริมาณผลึกไคตินที่แตกต่างกัน en
dc.description.abstractalternative Tissue scaffolds made of natural derived polymer present poor mechanical properties which limit their use in regenerating high strength tissues. This study aims to develop a novel tissue scaffold from -chitin whiskers reinforced hyaluronan-gelatin nanocomposites by the freeze-drying method. Scaffolds were fabricated with six different weight ratios of -chitin whiskers to the polymer i.e., 0, 2, 5, 10, 20, 30% in order to study their influences on scaffolds’ properties. The as-prepared scaffolds exhibited interconnected porous structure with mean diameter of 150 m. The -chitin whiskers were approximately 250 and 30 nm in length and width respectively. At any weight ratio, presenting of -chitin whiskers did not affect scaffold’s internal structure and water absorption capability. On the contrary, 2% of -chitin whiskers strengthened scaffolds by increasing tensile strength twice comparing with the others. While 20-30% of -chitin whiskers improved thermal resistance and biodegradation, scaffolds with 10% of -chitin whiskers could promote proliferation of SaOS-2 cells the best. To enhance mechanical physical or biological properties, scaffolds must be reinforced with distinct weight ratios of the -chitin whiskers. en
dc.description.sponsorship ทุนวิจัยกองทุนรัชดาภิเษกสมโภช en
dc.format.extent 2587046 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject โพลิเมอร์ในการแพทย์ en
dc.subject นาโนคอมพอสิต en
dc.title กล กายภาพ และชีวสมบัติของโครงเนื้อเยื่อจากวัสดุประกอบนาโนของไฮยารูโรแนน-เจลาติน ที่เสริมแรงด้วยผลึกนาโนของอัลฟ่าไคติน : รายงานผลการวิจัย en
dc.title.alternative Mechanical, physical, and biological properties of scaffolds of alpha-chitin whiskers reinforced hyaluronan-gelatin nanocomposites en
dc.type Technical Report es
dc.email.author Pitt.S@Chula.ac.th
dc.email.author Tanom.B@Chula.ac.th
dc.email.author Parintorn.H@Student.chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record