Vichai Poshyachinda: Recent submissions

  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    อุโบสถเป็นอาคารก่ออิฐถือปูนวางตัวในแนวแกนตะวันออก – ตะวันตก มี 2 ส่วน ส่วนหน้าด้านทิศตะวันออกประดิษฐานพระพุทธรูป 6 องค์บนฐานปัทม์ขนาดใหญ่ มีพระพุทธรูปประธานเป็นปางมารวิชัย ส่วนหลังคือด้านทิศตะวันตกเป็นห้องว่างมีผนังกั้นกลาง ...
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    หน้าบันชิ้นในที่ต่อเนื่องจากปูนปั้นเรื่องการสักการะรอยพระพุทธบาททำเป็นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ ล้อมรอบด้วยลายคล้ายก้านไผ่คดโค้ง ส่วนหน้าบันด้านหน้าทำเป็นลายคล้ายก้านไผ่คดโค้งล้อมรอบวัตถุบางอย่างซึ่งหลุดร่อนไปแล้ว
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    หน้าบันชิ้นในที่ต่อเนื่องจากปูนปั้นเรื่องการสักการะรอยพระพุทธบาททำเป็นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ ล้อมรอบด้วยลายคล้ายก้านไผ่คดโค้ง ส่วนหน้าบันด้านหน้าทำเป็นลายคล้ายก้านไผ่คดโค้งล้อมรอบวัตถุบางอย่างซึ่งหลุดร่อนไปแล้ว
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    หน้าบันชิ้นในที่ต่อเนื่องจากปูนปั้นเรื่องการสักการะรอยพระพุทธบาททำเป็นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ ล้อมรอบด้วยลายคล้ายก้านไผ่คดโค้ง ส่วนหน้าบันด้านหน้าทำเป็นลายคล้ายก้านไผ่คดโค้งล้อมรอบวัตถุบางอย่างซึ่งหลุดร่อนไปแล้ว
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    หน้าบันชิ้นในที่ต่อเนื่องจากปูนปั้นเรื่องการสักการะรอยพระพุทธบาททำเป็นรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ ล้อมรอบด้วยลายคล้ายก้านไผ่คดโค้ง ส่วนหน้าบันด้านหน้าทำเป็นลายคล้ายก้านไผ่คดโค้งล้อมรอบวัตถุบางอย่างซึ่งหลุดร่อนไปแล้ว
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    หน้าบันไม้แกะสลัก ลงรักปิดทองประดับกระจกรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ ล้อมรอบด้วยเหล่ายักษ์ถือกระบอง ได้มาจากวัดแม่นางปลื้ม ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    หน้าบันไม้แกะสลัก ลงรักปิดทองประดับกระจกรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ ล้อมรอบด้วยเหล่ายักษ์ถือกระบอง ได้มาจากวัดแม่นางปลื้ม ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    หน้าบันไม้แกะสลัก ลงรักปิดทองประดับกระจกรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ ล้อมรอบด้วยเหล่ายักษ์ถือกระบอง ได้มาจากวัดแม่นางปลื้ม ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    หน้าบันไม้แกะสลัก ลงรักปิดทองประดับกระจกรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ ล้อมรอบด้วยเหล่ายักษ์ถือกระบอง ได้มาจากวัดแม่นางปลื้ม ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    หน้าบันไม้แกะสลัก ลงรักปิดทองประดับกระจกรูปพระนารายณ์ทรงครุฑ ล้อมรอบด้วยเหล่ายักษ์ถือกระบอง ได้มาจากวัดแม่นางปลื้ม ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    บานประตูไม้แกะสลัก รูปเซี่ยวกาง หรือทวารบาลอย่างจีน ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนคร
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    บานประตูไม้แกะสลัก รูปเซี่ยวกาง หรือทวารบาลอย่างจีน ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนคร
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    บานประตูไม้แกะสลัก รูปทวารบาลถือพระขรรค์ยืนอยู่ใต้ฉัตร ได้มาจากมณฑป วัดพระศรีสรรเพ็ชญ ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    บานประตูไม้แกะสลัก รูปทวารบาลถือพระขรรค์ยืนอยู่ใต้ฉัตร ได้มาจากมณฑป วัดพระศรีสรรเพ็ชญ ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    บานประตูไม้แกะสลัก รูปทวารบาลถือพระขรรค์ยืนอยู่ใต้ฉัตร ได้มาจากมณฑป วัดพระศรีสรรเพ็ชญ ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    บานประตูวัดโบราณ ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    หีบใส่พระธรรมลงรักปิดทอง ด้านหน้าเขียนรูปกินรีกำลังร่ายรำ ด้านหลังเขียนเป็นป่าลายกระหนก ได้มาจากวัดกษัตรา ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    หีบใส่พระธรรมลงรักปิดทอง ด้านหน้าเขียนรูปกินรีกำลังร่ายรำ ด้านหลังเขียนเป็นป่าลายกระหนก ได้มาจากวัดกษัตรา ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    หีบใส่พระธรรมลงรักปิดทอง ด้านหน้าเขียนรูปกินรีกำลังร่ายรำ ด้านหลังเขียนเป็นป่าลายกระหนก ได้มาจากวัดกษัตรา ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    หีบใส่พระธรรมลงรักปิดทอง ด้านหน้าเขียนรูปกินรีกำลังร่ายรำ ด้านหลังเขียนเป็นป่าลายกระหนก ได้มาจากวัดกษัตรา ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา