โบราณสถานและโบราณวัตถุ: Recent submissions

  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    จิตรกรรมทศชาติชาดก ตอนวิฑูรบัณฑิต เป็นฉากที่วิฑูรบัณฑิตแสดงธรรมแก่ปุณณกะ เมื่อปุณณกะได้ฟังธรรมก็เกิดความสำนึกในความผิดที่คิดร้ายต่อวิฑูรบัณฑิต
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    จิตรกรรมทศชาติชาดก ตอนสุวรรณสาม เป็นฉากที่พระราชาทรงเศร้าเสียพระทัยที่ได้ยิงสุวรรณสามจนเสียชีวิต เมื่อเดินทางไปพบกับบิดาและมารดาของสุวรรณสาม ได้สารภาพผิดและพาทั้ง 2 มาพบกับสุวรรณสาม ในที่สุดด้วยความดีของสุวรรณสาม ...
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    จิตรกรรมทศชาติชาดก ตอนภูริทัต เป็นฉากที่พราหมณ์จับภูริทัตใส่ย่ามตาข่ายแล้วนำไปออกแสดงให้ประชาชนดูเพื่อหาเงิน พราหมณ์บังคับให้ภูริทัตแสดงฤทธิ์ต่างๆ ชาวบ้านสงสารจึงให้ข้าวของเงินทอง
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    จิตรกรรมทศชาติชาดก ตอนพระเวสสันดร เป็นฉากที่ชูชกทูลขอพระโอรสและพระธิดา พระเวสสันดรก็พระราชทานให้ทันที พระกุมารทั้งสองจึงวิ่งไปแอบที่สระโบกขรณี แต่ในที่สุดก็ต้องขึ้นมาจากสระ พระเวสสันดรจึงหลั่งน้ำลงบนฝ่ามือชูชก เป็นการประ ...
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    พุทธประวัติตอนอุปสมบทพระราหุล แสดงฉากที่พระพุทธองค์ทรงบรรพชาให้กับพระราหุลผู้เป็นพระโอรส ซึ่งถือเป็นสามเณรองค์แรกในพระพุทธศาสนา และได้รับการยกย่องจากพระบรมศาสดาว่าเป็นผู้เลิศในทางใฝ่การศึกษา
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    พระอุโบสถวัดวิหารเบิก อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้างที่ชัดเจน สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นร่วมสมัยกับวัดวัง ซึ่งสร้างขึ้นในราวพ.ศ. 2403 ลักษณะเป็นอาคารในผังรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ายกพื้นสูงประมาณ 1 เมตร แบ่งเป็น 3 ...
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    เสาโดยรอบพระอุโบสถตั้งรับเชิงชายปีกนก จำนวน 16 ต้น เป็นเสาปูนกลมปลายด้านบนประดับบัวหัวเสา ขอบแต่งกลีบบัวลายรูปหยัก ส่วนโคนบัวมีการประดับลายต่างกันเกือบทุกเสา
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    จิตรกรรมทศชาติชาดก ตอนพระเตมีย์ใบ้ เป็นตอนที่พระราชาปล่อยช้างเข้าไปใกล้ๆกับพระเตมีย์ เพื่อให้พระเตมีย์ยอมพูดจา แต่ก็ไม่เป็นผล ในที่สุดพระเตมีย์ได้บรรยายธรรมให้พระบิดาและมารดาฟัง ทั้ง 3 คนเกิดความศรัมธาในพระพุทธศาสนาจึงออ ...
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    อยู่ทางด้านทิศเหนือและทิศใต้ เหนือรูปเทพชุมนุมขึ้นไปโดยมีเส้นสินเทาเป็นตัวกั้น ลักษณะเป็นวิทยาธร คนธรรพ์ และนักสิทธิ์ล่องลอยอยู่บนก้อนเมฆ บ้างก็ถือดอกบัว บ้างก็ถืออาวุธ แต่ทั้งหมดหันหน้าเข้าหาพระประธาน
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    พุทธประวัติตอนมารผจญเขียนบริเวณผนังสกัดด้านทิศตะวันออก ตรงกลางเป็นพระพุทธองค์ในปางสมาธิ ประทับนั่งบนรันตบัลลังก์ภายในซุ้มเรือนแก้ว ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ที่ใต้รันตบัลลังก์เป็นพระแม่ธรณีบีบมวยผมหันหน้าไปทางด้านซ้าย ...
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    จิตรกรรมทศชาติชาดก ตอนวิฑูรบัณฑิต เป็นฉากที่วิฑูรบัณฑิตแสดงธรรมแก่ปุณณกะ เมื่อปุณณกะได้ฟังธรรมก็เกิดความสำนึกในความผิดที่คิดร้ายต่อวิฑูรบัณฑิต
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    จิตรกรรมทศชาติชาดก ตอนพระเวสสันดร เป็นฉากที่ชูชกทูลขอพระโอรสและพระธิดา พระเวสสันดรก็พระราชทานให้ทันที พระกุมารทั้งสองจึงวิ่งไปแอบที่สระโบกขรณี แต่ในที่สุดก็ต้องขึ้นมาจากสระ พระเวสสันดรจึงหลั่งน้ำลงบนฝ่ามือชูชก เป็นการประ ...
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    ซุ้มประตูปั้นปูนเป็นกรอบสี่เหลี่ยมล้อมรอบช่องเปิด เป็นลายดอกพุดตานและใบไม้สามแฉก ส่วนยอดซุ้มทำเป็นรูปทรงกรวยแหลม ประดับลวดลายเทพนม แซมด้วยดอกพุดตาน และใบไม้สามแฉก
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    จิตรกรรมเทพชุมนุมอยู่เหนือขอบหน้าต่างทางด้านทิศเหนือและทิศใต้ ด้านละ 12 องค์ สลับกันระหว่างเทวดา และยักษ์ อยู่ในท่านั่งพนมหัตถ์ ไหว้บูชาด้วยดอกบัวตูมและดอกบัวบานสลับกัน หันพระพักตร์เข้าหาพระประธาน เหนือภาพเทพชุมนุมเป็นเส้นสินเทา ...
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    พระประธานปางมารวิชัยทำจากปูนปั้นลงรักปิดทอง มีพระพักตร์กลมกึ่งรูปไข่ รัศมีเป็นเปลว พระขนงโก่ง พระนาสิกค่อนข้างเล็กและโด่ง พระโอษฐ์เล็ก พระหัตถ์ทั้ง 4 ยาวเรียวเสมอกัน ประดิษฐานอยู่บนฐานชุกชีปูนปั้นปิดทองประดับกระจก ...
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    จิตรกรรมทศชาติชาดก ตอนเนมิราช เขียนบริเวณช่องหน้าต่างด้านทิศใต้ เป็นฉากที่พระเจ้าเนมิราชทรงรำพึงว่าพระองค์ยังมิเคยเห็นเทวโลก ปรารถนาจะเสด็จไปตามคำเชิญของเหล่าเทพ จึงเสด็จประทับเวชยันตรารถไปยังเทวโลก
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    ภาพปูนปั้นพุทธประวัติตอนออกมหาภิเนษกรมณ์อยู่ ณ วิหารพระทรงม้า ประดับอยู่บริเวณพนักบันไดทางขึ้นสู่ลานประทักษิณของพระบรมธาตุ ตรงกลางเป็นเจ้าชายสิทธัตถะทรงม้ากัณฐกะ มีพระพรหมกางกั้นฉัตร ท้าวจตุโลกบาลโอบอุ้มเท้าของม้ากัณฐกะทั้ง ...
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    ที่วิหารทับเกษตร หรือส่วนฐานขององค์พระบรมธาตุ ประดิษฐานพระพุทธรูปประทับยืนในปางต่างๆ ภายในซุ้มเรือนแก้ว โดยบริเวณด้านล่างของเสารับกรอบซุ้มทั้ง 2 ข้าง ทำเป็นรูปมกรคายพญานาครองรับด้วยยักษ์แบก
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    ภายในวิหารพระทรงม้าบริเวณที่เป็นบันไดทางขึ้นสู่ลานประทักษิณองค์พระบรมธาตุ มีรูปปั้นของเทพผู้พิทักษ์มีจารึกที่ฐานคือ ท้าวขัตตุคาม(องค์ซ้าย) และท้าวรามเทพ(องค์ขวา) เทพทั้งสององค์ถือเป็นเทพผู้คอยปกปักรักษาองค์พระบรมธาตุเจดี ...
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    ฐานพระพุทธรูปปูนปั้นพุทธประวัติตอนมารผจญ มีรูปพระแม่ธรณีบีบมวยผมอยู่ตรงกลาง ขนาบข้างด้วยยักษ์ประดับด้วยเชือกคาด คนแคระ และรูปบุคคล