โบราณสถานและโบราณวัตถุ: Recent submissions

  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2559)
    เจดีย์ทรงระฆังตั้งอยู่บนฐานเขียง 2 ชั้น รองรับชุดฐานบัว 3 ฐาน โดยที่ท้องไม้ของฐานบัวคาดด้วยลูกแก้วกลม 2 เส้น และระหว่างลูกแก้วเจาะเป็นช่องสี่เหลี่ยมตลอดแนว ประดับปูนปั้นลายสอดไขว้เป็นกรอบสี่เหลี่ยมเชื่อมต่อกันและลายพันธุ์พฤกษา
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2559)
    ปูนปั้นรูปมกรคายพญานาคที่ราวบันไดวัดสวนดอก พญานาคมี 5 เศียร แถบลายกระบังหน้าประดับด้วยลายเครือเถาและลายพันธุ์พฤกษาแบบล้านนา ตัวมกรประดับด้วยลายพันธุ์พฤกษาเช่นกัน
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรษน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    รอยพระพุทธบาทในพิพิฑภัณฑสถานแห่งชาติจันทรเกษม ทำจากหินแกะสลักเป็นลวดลายมงคล 108 ประการ และลายธรรมจักรตรงกลางพระบาท
  • วิชัย โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    เจดีย์ประธานวัดเจดีย์งาม มีรูปแบบคล้ายคลึงกับพระบรมธาตุ จังหวัดนครศรีธรรมราช แต่มีขนาดเล็กกว่า มีการทำพระเวียนที่บริเวณก้านฉัตรเช่นเดียวกัน
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2559)
    ปูนปั้นรูปมกรคายพญานาคที่ราวบันไดวัดสวนดอก พญานาคมี 5 เศียร แถบลายกระบังหน้าประดับด้วยลายเครือเถาและลายพันธุ์พฤกษาแบบล้านนา ตัวมกรประดับด้วยลายพันธุ์พฤกษาเช่นกัน
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2559)
    ปูนปั้นรูปมกรคายพญานาคที่ราวบันไดวัดสวนดอก พญานาคมี 5 เศียร แถบลายกระบังหน้าประดับด้วยลายเครือเถาและลายพันธุ์พฤกษาแบบล้านนา ตัวมกรประดับด้วยลายพันธุ์พฤกษาเช่นกัน
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดา และหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    เสาร่วมในภายในพระอุโบสถ วัดใหญ่สุวรรราราม เขียนลายลงรักปิดทองเป็นลายประจำยามก้านแย่ง ส่วนปลายเป็นลายกรุยเชิง
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดา และหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    เสาร่วมในภายในศาลาการเปรียญ วัดใหญ่สุวรรราราม เขียนลายลงรักปิดทอง โดยลายของเสรแต่ละคู่มีความแตกต่างกัน แต่ส่วนปลายจะเขียนเป็นลายกรุยเชิงแบบเดียวกัน
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดา และหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    เสาร่วมในภายในศาลาการเปรียญ วัดใหญ่สุวรรราราม เขียนลายลงรักปิดทอง โดยลายของเสรแต่ละคู่มีความแตกต่างกัน แต่ส่วนปลายจะเขียนเป็นลายกรุยเชิงแบบเดียวกัน
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดา และหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    เสาร่วมในภายในศาลาการเปรียญ วัดใหญ่สุวรรราราม เขียนลายลงรักปิดทอง โดยลายของเสาแต่ละคู่มีความแตกต่างกัน แต่ส่วนปลายจะเขียนเป็นลายกรุยเชิงแบบเดียวกัน
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดา และหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    เสาร่วมในภายในศาลาการเปรียญ วัดใหญ่สุวรรราราม เขียนลายลงรักปิดทอง โดยลายของเสรแต่ละคู่มีความแตกต่างกัน แต่ส่วนปลายจะเขียนเป็นลายกรุยเชิงแบบเดียวกัน
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    โครงสร้างหลังคาของพระอุโบสถนั้นใช้เป็นเครื่งไม้ทั้งหมด มีการเขียนลวดลายบริเวณ เสา ขื่อ คาน จันทัน แป กลอน อย่างเช่นบริเวณคานเขียนเป็นลายก้านแย่ง ตรงส่วนปลายเขียนเป็นลายกรุยเชิง
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรษน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    ภาพจิตรกรรม ซุ้มเรือนแก้วด้านบนประดับต้นโพธิ์ ภายในคูหาเจดีย์มุม วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พระนครศรีอยุธยา
  • โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรษน์รัตกสิกร (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2555)
    เจดีย์แปดเหลี่ยม วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พระนครศรีอยุธยา ลักษณะเป็นเจดีย์ทรงแปดเหลี่ยม มีการประดับซุ้มจระนำในแต่ละด้าน ตรงมุมระหว่างซุ้มประดับประติมากรรมรูปเทวดาปูนปั้น
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    ฐานพระพุทธรูปปูนปั้นพุทธประวัติตอนมารผจญ มีรูปพระแม่ธรณีบีบมวยผมอยู่ตรงกลาง ขนาบข้างด้วยยักษ์ประดับด้วยเชือกคาด คนแคระ และรูปบุคคล
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    เป็นฉากที่พระพุทธองค์ทรงบรรทมอยู่ แล้วพระอินทร์มาดีดพิณสามสายให้ฟัง เพื่อแสดงให้เห็นทางสายกลาง ส่วนด้านล่างเป็นภาพของปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 ที่กำลังเดินจากพระพุทธองค์ไป เนื่องจากหมดศรัทธาที่พระพุทธองค์เลิกปฏิบัติด้วยการทรมานกาย
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    ทวารบาลปูนปั้นอยู่ทางด้านทิศตะวันตก ลักษณะเป็นรูปยักษ์ เรียกว่า เซี่ยวกาง การแต่งการทรงเครื่องอย่างเทวดาไทย มือข้างหนึ่งถืออาวุธ มีทวงท่าอย่างจีน สันนิษฐานว่าเป็นงานในช่วงที่มีการบูรณะวิหารในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้ ...
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    เป็นฉากที่พระพุทธองค์ทรงประทับ ณ ต้นอชปาลนิโครธ แล้วมีมารธิดามาร่ายรำยั่วยวนอยู่ทางด้านขวา ส่วนด้านซ้ายเป็นภาพของหญิงชรา 3 คน แสดงให้เห็นถึงความไม่เที่ยงของสังขาร
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    ทวารบาลปูนปั้นอยู่ทางด้านทิศตะวันออก ลักษณะเป็นรูปยักษ์ เรียกว่า เซี่ยวกาง การแต่งการทรงเครื่องอย่างเทวดาไทย มือข้างหนึ่งถืออาวุธ มีทวงท่าอย่างจีน สันนิษฐานว่าเป็นงานในช่วงที่มีการบูรณะวิหารในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล ...
  • วิชัย โปษยะจินดา; มาคุ้มครอง โปษยะจินดา (โครงการศูนย์รูปธรรมศึกษาโปษยะจินดาและหอนิทรรศน์รัตกสิกร, 2558)
    เป็นเจดีย์ทรงระฆัง มีลักษณะคล้ายคลึงกับพระบรมธาตุ นครศรีธรรมราช แต่เจดีย์วัดจะทิ้งพระไม่มีรัตนบัลลังก์ สันนิษฐานว่าถ่ายแบบมาจากเจดีย์ทรงระฆังในศิลปะลังกาต้นพุทธศตวรรษที่ 21 เมื่อครั้งพระอโนมทัสสึไปนำเอารูปแบบมาจากลังกาเพ ...