DSpace Repository

Gastroprotective effect of turmeric oil

Show simple item record

dc.contributor.advisor Niyada Kiatying-Angsulee
dc.contributor.advisor Piyawan Surinrut
dc.contributor.author Nitaya Kitsupa
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Pharmaceutical Sciences
dc.date.accessioned 2010-03-15T04:23:19Z
dc.date.available 2010-03-15T04:23:19Z
dc.date.issued 2002
dc.identifier.isbn 9741733208
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12209
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2002 en
dc.description.abstract ศึกษาฤทธิ์ในการป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะ อาหาร และคุณสมบัติการเป็นสาร antioxidant ของน้ำมันขมิ้นชัน โดยการทดสอบประสิทธิภาพของน้ำมันขมิ้นชันในหนูขาว โดยการป้อนทางปาก ขนาด 0.075,0.15,0.3 กรัม/น้ำหนัก 1 กิโลกรัม เป็นเวลา 30 นาที ก่อนการให้สารเคมีที่ซักนำให้เกิดแผลในกระเพาะอาหาร ได้แก่ 0.6 N HCI, indomethacin 50 mg/Kg และทำการตรวจสอบผลการป้องกันการเกิดแผล จากการตรวจสอบ Ulcer index พบว่ามีผลในการป้องกัน จึงเก็บตัวอย่าง เพื่อทดสอบหากลไกที่เกี่ยวข้อง เช่น ทดสอบความเป็นกรด, การทำงานของแปปซิน, ตรวจสอบ mucus และในทางด้าน antioxidant นั้นทดสอบโดยวิธี TLC และ spectrophotometric assay ตลอดถึงตรวจสอบ lipid peroxidation และ superoxide dismutase ผลการทดลองพบว่า น้ำมันขมิ้นชันสามารถป้องกันการเกิดแผลได้โดยที่ปริมาณ 0.3 กรัม/กิโลกรัมให้ผลดี ในการป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารที่เหนี่ยวนำด้วยกรดเกลือ และ อินโดเมทาซิน ได้ถึง 97.4 และ 100 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ใกล้เคียงกับยามาตรฐาน atropinesulfate 1.25 mg/kg และ misoprostol 100 microgram/kg โดยความเป็นกรดในน้ำย่อยลดลง เมื่อป้อนน้ำมันขมิ้นชัน ขนาด 0.075,0.15 และ 0.3 กรัม/กิโลกรัมน้ำหนักตัว วัดค่าความเป็นกรด-ด่าง ได้ค่า pH 2.7+-0.48, 3.0+-0.00 และ 3.5+-0.52 ทำให้การงานของเปปซินลดลง 4.8+-25.21, 12.7+-27.82 และ 62.6+-12.94 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ พบว่า gastric wall mucus content เพิ่มขึ้น 23.3+-2.61 และ 59+-6.95 เปอร์เซ็นต์ใกล้เคียงกับยามาตรฐาน การศึกษาคุณสมบัติการเป็นสาร antioxidant ทั้งวิธี TLC และ spectrophotometric assay พบว่ามีค่าต่ำ เพียง 36.7% ที่ 1000 ppm เมื่อเทียบกับสารมาตรฐาน BHA และ Gallic acid ซึ่งมีค่าเท่ากับ 94.8% และ 95.1% ตามลำดับ การทดลองในหนูขาวพบว่า น้ำมันขมิ้นชันสามารถยับยั้งการเกิด lipid peroxidation จากการชักนำให้เกิดแผลโดยกรดไฮโดรคลอริก พบว่าปริมาณ MDA ในซีรัม มีค่าเท่ากับ 8.69+-0.28, 7.65+-0.76 และ 6.69+-0.32 นาโนโมลต่อมิลลิกรัมโปรตีน ซึ่งลดลงเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมที่เป็นแผล ซึ่งมีปริมาณ MDA เท่ากับ 10.97+-2.01 นาโนโมลต่อมิลลิกรัมโปรตีน และในเนื้อเยื่อ ปริมาณ MDA มีค่าเท่ากับ 10.20+-0.65. 9.59+-1.69 และ 8.10+-0.92 นาโนโมลต่อมิลลิกรัมโปรตีน ซึ่งลดลงเมื่อเทียบเท่ากับกลุ่มควบคุมที่เป็นแผล ซึ่งมีปริมาณ MDA เท่ากับ 13.39+-1.38 นาโนโมลต่อมิลลิกรัมโปรตีนและนอกจากนี้พบว่ามีปริมาณ superoxide dismutase (SOD) ในซีรัม เพิ่มขึ้นเป็น 12.98+-0.86. 15.13+-0.115 และ 16.84+-1.53 ยูนิตต่อมิลลิกรัมโปรตีน เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุมที่เป็นแผล 10.90+-0.70 ยูนิตต่อมิลลิกรัมโปรตีน และในเนื้อเยื่อมีค่าเท่ากับ 22.90+-2.03. 23.13+-0.98 และ 23.9+-1.40 ยูนิตต่อมิลลิกรัมโปรตีน เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมที่เป็นแผล ซึ่งมีค่าเท่ากับ 18.65+-1.86 ยูนิตต่อมิลลิกรัมโปรตีน นอกจากนี้น้ำมันขมิ้นชันสามารถยับยั้งการเกิด lipid peroxidation จากการชักนำให้เกิดแผลโดยใช้อินโดเมทาซิน 50 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม พบว่า ในซีรัมมีปริมาณ MDA เท่ากับ 6.49+-0.52 นาโนโมลต่อมิลลิกรัม ซึ่งลดลงเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมที่ทำให้เกิดแผล ซึ่งมีปริมาณ MDA เท่ากับ 12.14+-0.83 นาโนโมลต่อมิลลิกรัมโปรตีน และมีค่าลดลงใกล้เคียงกับยามาตรฐาน Misoprostol 100 ไมโครกรัมต่อกิโลกรัม และในเนื้อเยื่อมีค่าเท่ากับ 4.56+-0.71 ซึ่งลดลงเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุมที่เป็นแผล ซึ่งมีปริมาณ MDA เท่ากับ 9.53+-0.44 นาโนโมล/มิลลิกรัมโปรตีน นอกจากนี้ยังพบว่ามีปริมาณ SOD ในซีรัม ในกลุ่มที่ให้น้ำมันขมิ้นชันในปริมาณ 0.3 กรัมต่อกิโลกรัม เพิ่มขึ้นเป็น 11.05+-0.94 จากกลุ่มควบคุมที่ทำให้เกิดแผล 8.71+-2.48 และในเนื้อเยื่อเพิ่มขึ้น 26.15+-2.84 จากกลุ่มควบคุมที่ทำให้เกิดแผล 9.92+-1.93 ยูนิตต่อมิลลิกรัมโปรตีน en
dc.description.abstractalternative To study the gastroprotective and antioxidant effects of turmeric oil. Gastroprotective effect was done in rat’s model by using 0.6N HCI and indomethacin as ulcer agents. Turmeric oil was given orally to rat at doses of 0.075,0.15, and 0.3 g/kg 30 minutes prior to experimental induced ulcer. Gastroprotective mechanism of turmeric oil was examined by using ulcer index as measuring gastric pH, pepsin activity and gastric wall mucus content. Antioxidant of turmeric oil was studied by using Thin Layer Chromatography (TLC) method and spectrophotometric assay of 2, 2-diphenyl-1-picrylhydrazyl (DPPH) at lambda =517 nm. Measurement of superoxide dismutase (SOD) and lipid peroxidation in same groups of ulcer inducing rats were also determined. Turmeric oil 0.3 g/kg exhibited a significant gastroprotection against ulcerative condition. The values of 97.41% and 100% ulcer inhibition were obtained in HCI model and indomethacin medel respectively, compared to control. These dises were comparable to atropine sulphate 1.25 mg/kg and misoprostol 100 microgram/kg respectively.Three oral doses of turmeric oil could reduce pH of gastric acid from 2.5+-0.53 to 2.7+-0.48, 3.0+-0.00, 3.5+-0.52 respectively, reduce pepsin activity 4.8+-25.21, 12.7+-27.82, 62.6+-12.94% and increase gastric wall mucus content 23.3+-2.61, 59+-6.95% accordingly. Turmeric oil showed less antioxidation property by TLC method, which conformed to the spectrophotometric assay of 36.7% radical scavenging properties compared to 95.1% of gallic acid and 94.8% of 3-tert-butyl-4-hydroxyanisole (BHA) standard reference at 1000 ppm. Treatment of turmeric oil could reduce lipid peroxidation on HCI induced ulcer to range 8.67+-0.28, 7.65+-0.76 and6.69+-0.32 nmol/mg protein in serum compared to control 10.97+-2.01 nmol/mg protein and 10.20+-0.65, 9.59+-1.69 and 8.10+-0.92 nmol/mg protein in tissue compared to control 13.39+-1.38 nmol/mg protein. Increased SOD 12.98+-0.86, 15.13+-0.12 and 16.84+-1.53 units/mg protein in serum compared to control 10.90+-0.70 units/mg protein and 22.90+-2.04, 23.13+-0.98 and 23.91+-1.40 units/mg protein in tissue compared to control 18.65+-1.86 units/mg protein. Turmeric oil could reduce lipid peroxidation in serum on indomethacin induced ulcer 6.49+-0.52 nmol/mg protein compared to control 12.14+-0.83 nmol/mg protein and 4.56+-0.71 nmol/mg protein compared to control 9.53+-0.44 nmol/mg protein in tissue, and the turmeric oil treated at dose of 0.3 g/kg could increase SOD in indomethacin induced ulcer 11.05+-0.94 units/mg protein in serum compared to control 8.71+-2.48 units/mg protein and 26.15+-2.84 units/mg protein in tissue compared to control 9.92+-1.93 units/mg. en
dc.format.extent 685598 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso en es
dc.publisher Chulalongkorn University en
dc.rights Chulalongkorn University en
dc.subject Turmeric oil en
dc.subject Stomach -- Ulcers en
dc.subject Antioxidants en
dc.title Gastroprotective effect of turmeric oil en
dc.title.alternative ฤทธิ์ป้องกันการเกิดแผลในกระเพาะอาหารของน้ำมันขมิ้นชัน en
dc.type Thesis es
dc.degree.name Master of Science es
dc.degree.level Master's Degree es
dc.degree.discipline Biomedicinal Chemistry es
dc.degree.grantor Chulalongkorn Universtiy en
dc.email.advisor Niyada.K@Chula.ac.th
dc.email.advisor Piyawan.S@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Pharm - Theses [1269]
    วิทยานิพนธ์ คณะเภสัชศาสตร์

Show simple item record