DSpace Repository

ทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อภาพยนตร์โฆษณาที่มีนัยเปรียบเทียบ

Show simple item record

dc.contributor.advisor วิฏราธร จิรประวัติ, ม.ล.
dc.contributor.author กิ่งกาญจน์ อนุเธียร
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned 2010-03-18T06:06:52Z
dc.date.available 2010-03-18T06:06:52Z
dc.date.issued 2541
dc.identifier.isbn 9746396218
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12305
dc.description วิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 en
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจวัตถุประสงค์ของภาพยนตร์โฆษณา และเพื่อศึกษาทัศนคติและความคิดเห็น รวมถึงการยอมรับของผู้บริโภคที่มีต่อภาพยนตร์โฆษณาที่มีนัยเปรียบเทียบ ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้ในการศึกษาคือ การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการจัดสนทนากลุ่ม ผลของการศึกษาวิจัยสามารถสรุปได้ดังนี้ 1) ผู้บริโภคส่วนใหญ่มีความเข้าใจที่ถูกต้องต่อวัตถุประสงค์ที่ผู้ผลิตต้องการสื่อสารในภาพยนตร์โฆษณาที่มีนัยเปรียบเทียบ ยกเว้นภาพยนตร์โฆษณาที่ต้องการสื่อสารข้อมูลหลายประเด็น 2) ผู้บริโภคส่วนใหญ่มีทัศนคติที่ดีต่อภาพยนตร์โฆษณาที่มีนัยเปรียบเทียบ โดยให้เหตุผลว่าเป็นโฆษณาที่ให้ข้อมูลชัดเจน เข้าใจง่าย ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภค มีความฉลาดในการเปรียบเทียบ และทำให้เกิดความรู้สึกสะใจ อย่างไรก็ตาม ผู้บริโภคจะมีทัศนคติที่ไม่ดีหากภาพยนตร์โฆษณานั้นมีการเปรียบเทียบอย่างโจ่งแจ้งจนเกินไป 3) ผู้บริโภคส่วนใหญ่ สามารถยอมรับภาพยนตร์โฆษณาที่มีนัยเปรียบเทียบได้ โดยให้เหตุผลว่าเป็นเรื่องปกติธรรมดาที่ต้องมีการแข่งขันกันในตลาด เป็นข้อมูลที่เป็นความจริงเป็นการกระตุ้นให้คู่แข่งพัฒนาตนเองให้ทัดเทียม และเป็นการให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อผู้บริโภค en
dc.description.abstractalternative The objectives of this research are : 1) to investigate whether consumers understand the objectives of comparative advertising ; 2) to study consumers' attitude and opinion toward comparative advertising; and 3) to study consumers' addeptance to comparative advertising. This research is qualitative in nature. In-depth interview and focus group discussion were conducted. The results indicate that :- 1) Consumers are likely to understand the objectives of comparative advertisine. (except for the advertisements with lots of information) 2) Consumers are likely to have positive attitude toward comparative advertising because it is clear and easy to understand, provides useful information for consumers, is a clever way of comparative advertising and also excites the sudience. Nevertheless, it is found that consumers have negative attitude toward comparative advertising that significantly compares with the other brands. 3) Consumers tend to accept comparative advertising because competition is a nature of every market, but the content must base on fact. It also results in the development of the other competitors. Furthermore, it provides useful information for consumers. en
dc.format.extent 682883 bytes
dc.format.extent 406383 bytes
dc.format.extent 1004439 bytes
dc.format.extent 700916 bytes
dc.format.extent 1219315 bytes
dc.format.extent 888458 bytes
dc.format.extent 1569536 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ภาพยนตร์โฆษณาทางโทรทัศน์ en
dc.subject โฆษณาทางโทรทัศน์ en
dc.subject โฆษณาเปรียบเทียบ en
dc.title ทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อภาพยนตร์โฆษณาที่มีนัยเปรียบเทียบ en
dc.title.alternative attitude on comparative advertising en
dc.type Thesis es
dc.degree.name นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline การโฆษณา es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Vittratorn.C@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record