DSpace Repository

การพัฒนาย่านทดสอบสายอากาศแบบกระชับสำหรับความถี่ 8-40 จิกะเฮริทซ์ (ปีที่ 1)

Show simple item record

dc.contributor.author ฉัตรชัย ไวยาพัฒนกร
dc.contributor.author ทับทิม อ่างแก้ว
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2010-03-29T09:52:02Z
dc.date.available 2010-03-29T09:52:02Z
dc.date.issued 2550
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12381
dc.description โครงการวิจัยเลขที่ 52G-EE-2542 en
dc.description.abstract โครงการนี้มีความมุ่งหมายในการพัฒนาย่านทดสอบสายอากาศแบบกระชับ ย่านทดสอบแบบนี้มีความเหมาะสมสำหรับงานทดสอบสายอากาศที่ย่านความถี่สูง โดยไม่ใช้พื้นที่เพื่อการทดสอบมากมายเช่นการทดสอบในย่านทดสอบสนามไกล และไม่เสียเวลาในการทดสอบยาวนานมากเช่นย่านทดสอบสนามใกล้ โครงการในปีแรกนี้เน้นการศึกษาผลกระทบของการเลี้ยวเบนที่ขอบตัวสะท้อนซึ่งชี้ให้เห็นขีดจำกัดล่างเชิงความถี่ ผลการจำลองสถานการณ์แสดงให้เห็นการลดลงของผลกระทบจากการเลี้ยวเบนที่ขอบตัวสะท้อน เมื่อความเรียวของการสาดส่องกำลังคลื่นเพิ่มมากขึ้น ผลดังกล่าวก็เกิดขึ้นเช่นเดียวกันเมื่อเพิ่มความถี่ของกำลังคลื่นที่ใช้ ตัวสะท้อนที่สร้างขึ้น เพื่อสังเคราะห์คลื่นระนาบมีพื้นผิวที่ออกแบบจนทำให้คุณภาพหน้าคลื่นในบริเวณทดสอบไม่ดีเท่าที่ควร โดยสรุปจากผลการวัดแล้วย่านทดสอบแบบกระชับที่สร้างขึ้นตามข้อเสนอเท่าที่สามารถทำได้ในขอบเขตของโครงการปีที่ ๑ มีสมบัติดังนี้ ขนาดของบริเวณทดสอบ 1X1.2X0.6 ม3 ระลอกสูงสุดของภาพการแจกแจงขนาดยอด ณ ความถี่ 10 GHz เท่ากับ -5.25 dB ระลอกสูงสุดของภาพการแจกแจงวัฏภาค ณ ความถี่ 10 GHz เท่ากับ 23.2o โพลาไรเซชันไขว้สูงสุด ณ ความถี่ 10 GHz เท่ากับ -23.00 dB ระลอกสูงสุดของภาพการแจกแจงขนาดยอด ณ ความถี่ 15.5 GHz เท่ากับ -5.39 dB ระลอกสูงสุดของภาพการแจกแจงวัฏภาค ณ ความถี่ 15.5 GHz เท่ากับ 24.9o โพลาไรเซชันไขว้สูงสุด ณ ความถี่ 15.5 GHz เท่ากับ -20.97 dB ผลดังกล่าวแสดงว่าย่านทดสอบที่สร้างขึ้นมีความสมบูรณ์ระดับหนึ่ง และมีความเหมาะสมสำหรับการใช้งานเชิงการศึกษาและการฝึกอบรมเท่านั้น en
dc.description.abstractalternative The project has its principal objective in developing a compact antenna test range. This type of test range is appropriate for antenna testing at high frequency range without the need of large test area as required by the far field test range, and test duration is not as long as that of the near field test range’s. This first year project focuses on the study of the effects the test range reflector edge diffraction which determines the lower bound of the test range operating frequency. Results from simulation show that there is decrease of effects from the range reflector edge diffraction as the illumination taper is increased. The same occurs when the operation frequency is higher. The constructed reflector for plane wave synthesis has certain degree of surface profile deviation from designed surface. Hence the test zone field wavefront quality is not so good. Results from quiet zone field probing of the developed compact antenna test range under the scope of the first year project can be summarized as follows. Test zone (Quiet zone) volume 1x1.2x0.6 m3. Maximum ripple of field amplitude distribution at 10 GHz is -5.25 dB. Maximum ripple of field phase distribution at 10 GHz is 23.2o. Maximum cross polarization level at 10 GHz is -23.00 dB. Maximum ripple of field amplitude distribution at 15.5 GHz is -5.39 dB. Maximum ripple of field phase distribution at 10 GHz is 24.9o. Maximum cross polarization level at 10 GHz is -20.97 dB. It is thus concluded that the developed test range is suitable for educational and training purposes only. en
dc.description.sponsorship ทุนงบประมาณแผ่นดินปี 2542 en
dc.format.extent 8658795 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject สายอากาศ en
dc.subject คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า en
dc.title การพัฒนาย่านทดสอบสายอากาศแบบกระชับสำหรับความถี่ 8-40 จิกะเฮริทซ์ (ปีที่ 1) en
dc.type Technical Report es
dc.email.author Chatchai.W@chula.ac.th
dc.email.author Tuptim.A@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record