dc.contributor.author |
วิวัฒน์ ตัณฑะพานิชกุล |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2010-08-20T08:54:45Z |
|
dc.date.available |
2010-08-20T08:54:45Z |
|
dc.date.issued |
2546 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13269 |
|
dc.description |
คณะวิจัย: หัวหน้าโครงการ ศิริกัลยา สุวจิตตานนท์ ; รองหัวหน้าโครงการ ธวัชชัย ชรินพาณิชกุล ; ผู้ร่วมวิจัย ปรีชา แสงธีระปิติกุล ; ผู้ช่วยวิจัย คมกริช สุทธิพรพาณิชย์ |
en |
dc.description.abstract |
จุลผลึกเซลลูโลสเป็นสารที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรมอาหาร เภสัชกรรม เครื่องสำอาง สี และอุตสาหกรรมอื่นๆ การผลิตจุลผลึกเซลลูโลสสามารถเตรียมได้ภายใต้ปฏิกิริยาไฮโดรไลซีสแบบวิวิธพันธ์ด้วยกรด (Heterogeneous acid hydrolysis) ดังนั้นในโครงงานวิจัยนี้จึงนำเส้นใยฝ้ายซึ่งสามารถหาได้ง่ายภายในประเทศและมีเซลลูโลสเป็นองค์ประกอบสูงถึง 94.24% และมีองศาความเป็นผลึก 80.16% มาเพิ่มมูลค่าโดยใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตจุลผลึกเซลลูโลส โดยผ่านกระบวนการย่อยสลายในสภาวะด่าง (Alkaline degradation) และศึกษาผลของความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ อุณหภูมิและเวลา ที่มีต่อการย่อยสลายในสภาวะด่าง จะพบว่าที่สภาวะความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ 8% อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส เวลา 1 ชั่วโมงจะให้ค่าแอลฟาเซลลูโลสและค่าองศาความเป็นผลึก (degree of crystallinity) สูงที่สุดคือ 99.15% และ 85.9% ตามลำดับ จึงเลือกสภาวะนี้สำหรับใช้ในการสังเคราะห์จุลผลึกเซลลูโลส ภายใต้ปฏิกิริยาไฮโดรไลซีสแบบวิวิธพันธ์ด้วยกรด การสังเคราะห์จุลผลึกเซลลูโลสโดยการไฮโดรไลซีสแบบวิวิธพันธ์ด้วยกรด จะศึกษาผลของเวลาที่ใช้ในการไฮโดรไลซีส พบว่าที่เวลา 35 นาที ความเข้มข้นของสารละลายกรดไฮโดรคลอกริก 2.5 โมลาร์ อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส จะให้จุลผลึกเซลลูโลสมีค่าองศาความเป็นผลึกและขนาดผลึกเท่ากับ 84.24% และ 3.23 A ความหนาแน่น 1.7269 g/qb.cm และพื้นที่ผิวจำเพาะ 0.5097 sq.m/g ซึ่งจะมีค่าสูงกว่าจุลผลึกเซลลูโลสมาตรฐานที่นำเข้าจากต่างประเทศ (Avicel PH101) และจุลผลึกเซลลูโลสที่สังเคราะห์ได้จะมีขนาด 25.34 micro m. ซึ่งจะเล็กกว่าจุลผลึกเซลลูโลสมาตรฐานถึง 2 เท่า |
en |
dc.description.abstractalternative |
Microcrystalline cellulose (MCC) were widely used in food, pharmaceutical, cosmetic, paint and other industries, was produced under the heterogeneous acid hydrolysis reaction. The cotton fibers which were easily found in Thailand and could be value-added by using as raw material to produce MCC via alkaline degradation will be used in this study. The effects of temperature, time and concentration of sodium hydroxide solution that influenced in alkaline degradation were studied. Variation of alpha-cellulose and degree of crystallinity were essentialed factors for MCC. The alpha-cellulose and the degree of crystallinity obtained at 8% NaOH, 100 degree celsius for one hour showed maximum values which are 99.15% and 85.96% respectively. Therefore this condition was an optimum condition that used to produce MCC via heterogeneous acid hydrolysis reaction. From MCC heterogeneous acid hydrolysis produced at 2.5M HC1, 100 degree celsius for 35 minutes, degree of crystallinity and crystal size are 84.24% and 3.23 A respectively. In addition, density and specific area were presented 1.7269 g/qb.cm and 0.5097 sq.m/g. The values of parameters were higher than imported standard material (Avice PH101). Moreover size of produced MCC is 25.34 micro m. which was produced MCC was twice smaller than Avicel PH101. |
en |
dc.description.sponsorship |
เงินทุนสนับสนุนจากโครงการวิจัยร่วมภาครัฐ-เอกชน ประจำปีงบประมาณ 2546 |
en |
dc.format.extent |
6031867 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
จุลผลึกเซลลูโลส |
en |
dc.subject |
เซลลูโลส |
en |
dc.subject |
เส้นใยฝ้าย |
en |
dc.subject |
การเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ |
en |
dc.subject |
การแยกสลายด้วยน้ำ |
en |
dc.title |
การผลิตอนุภาค Microcrystalline cellulose จากเส้นใยฝ้าย เพื่อทดแทนการนำเข้าจากต่างประเทศ : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ |
en |
dc.title.alternative |
Production of microcrystalline cellulose particles from cotton fibers for substitution of import product |
en |
dc.type |
Technical Report |
es |
dc.email.author |
Wiwut.T@Chula.ac.th |
|