DSpace Repository

การเตรียมและทดสอบคุณสมบัติของตัวกรองเซรามิกเพื่อจับเก็บฝุ่นจากแก๊สที่มีอุณหภูมิสูง (ระยะที่ 2) : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Show simple item record

dc.contributor.author วิวัฒน์ ตัณฑะพานิชกุล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
dc.date.accessioned 2010-09-07T11:54:29Z
dc.date.available 2010-09-07T11:54:29Z
dc.date.issued 2547
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13425
dc.description คณะวิจัย: หัวหน้าโครงการ มานะ อมรกิจบำรุง ; รองหัวหน้าโครงการ ธวัชชัย ชรินพาณิชกุล ; ผู้ร่วมวิจัย ดุษฎี อุตภาพ ; ผู้ช่วยวิจัย ภาสกร ทองนิ่ม en
dc.description.abstract เตรียมตัวกรองเซรามิก โดยจุ่มฟองน้ำในดิน PBA ในแม่พิมพ์โลหะ (ขนาด 20 ซม. x 20 ซม. x 20 ซม.) ทิ้งไว้ให้แห้งบริเวณอากาศนิ่งเพื่อให้น้ำระเหยออกไปอย่างช้าๆ จากนั้นนำไปเผาที่อุณหภูมิ 700, 900 และ 1,250 องศาเซลเซียล เป็นเวลา 1 ชั่วโมง ตัวกรองเซรามิกที่เผาแล้วจะถูกส่งไปตรวจวิเคราะห์การแจกแจงขนาดของรูพรุน ความพรุน และความแข็งแรงเชิงกล พบว่าตัวกรองเซรามิกที่เผาที่อุณหภูมิ 700 องศาเซลเซียล มีขนาดรูพรุนเฉลี่ยเท่ากับ 0.35 ไมโครเมตร มีความพรุน 62.92% และมีความแข็งแรงเชิงกลเท่ากับ 0.20+-0.05 MPa ตัวกรองเซรามิกที่เผาที่อุณหภูมิ 900 องศาเซลเซียล มีขนาดรูพรุนเฉลี่ยเท่ากับ 0.96 ไมโครเมตร มีความพรุน 73.72% และมีความแข็งแรงเชิงกลเท่ากับ 0.38 +- 0.08 MPa ส่วนตัวกรองเซรามิกที่เผาที่อุณหภูมิ 1,250 องศาเซลเซียล มีขนาดรูพรุนเฉลี่ยเท่ากับ 27.06 ไมโครเมตร มีความพรุน 23.46% และมีความแข็งแรงเชิงกลเท่ากับ 3.05 +- 0.32 MPa ผลการทดลองที่ได้แสดงให้เห็นว่าตัวกรองเซรามิกที่อุณหภูมิการเผา 1,250 องศาเซลเซียล มีความเหมาะสมที่สุด เนื่องจากความมีความแข็งแรงเชิงกลสูงกว่า อีกทั้งมีความพรุนและขนาดรูพรุนที่เหมาะสม สำหรับการทดลองประสิทธิภาพในการกรองฝุ่น กระทำที่สภาวะการกรองแบบเป็นงวด โดยใช้ความเร็วในการกรองเท่ากับ 3, 5 และ 7 cm/s อัตราการป้อนฝุ่นเท่ากับ 7.5 g/min และมีความดันลดก่อนไล่เค้กฝุ่นเท่ากับ 500, 700 และ 900 Pa พบว่าประสิทธิภาพในการกรองฝุ่นมีค่าใกล้เคียงกัน โดยมีค่าอยู่ในช่วง 98-99% en
dc.description.abstractalternative Ceramic filters were prepared by soaking the sponge with PBA soil/water slurry in steel mold (20 cm. x 20 cm x 20 cm). The soaked samples were dried at ambient air and then sintered at 700 degree Celsius, 900 degree Celsius and 1,250 degree Celsius for 1 hour. The sintered samples were characterized to determine pore size distribution, porosity and mechanical strength. It was found that the sample, which was sintered at 700 degree Celsius, had an average pore size of 0.35 micro m., a porosity of 62.92% and a compressive strength of 0.20 +- 0.05 MPa. The sample sintered at 900 degree Celsius, had an average pore size of 0.96 micro m., a porosity of 73.72% and a compressive strength of 0.38 +- 0.08 MPa. When the sample was sintered at 1,250 degree Celsius, the average pore size, porosity and compressive strength were 27.06 micro m., 23.46% and 3.05 +- 0.32 Mpa, respectively. These results indicated that the sample sintered at 1,250 degree Celsius was most suitable because it had an optimal porosity and pore size together with higher compressive strength. To investigate the filtration efficiency, the batch operation at filtration velocity of 3, 5 and 7 cm/s, dust feed rate of 7.5 g/min and final pressure drop 500, 700 and 900 Pa. It was found that filtration efficiency had nearly same value of 98-99%. en
dc.description.sponsorship ทุนสนับสนุนจากโครงการวิจัยร่วมภาครัฐ-เอกชน ประจำปีงบประมาณ 2547 en
dc.format.extent 6278078 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject วัสดุรูพรุน en
dc.subject วัสดุเซรามิก en
dc.subject ก๊าซ -- การทำความสะอาด en
dc.subject ฝุ่น -- การกำจัด en
dc.title การเตรียมและทดสอบคุณสมบัติของตัวกรองเซรามิกเพื่อจับเก็บฝุ่นจากแก๊สที่มีอุณหภูมิสูง (ระยะที่ 2) : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ en
dc.title.alternative Preparation and characterization of ceramic filter for hot gas cleaning (phase 2) en
dc.type Technical Report es
dc.email.author Wiwut.T@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record