DSpace Repository

การศึกษาคติชนในประเทศญี่ปุ่นสมัยเอโดะถึงสงครามโลกครั้งที่สอง

Show simple item record

dc.contributor.author ชมนาด ศีติสาร
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
dc.coverage.spatial ญี่ปุ่น
dc.date.accessioned 2010-09-11T08:11:42Z
dc.date.available 2010-09-11T08:11:42Z
dc.date.issued 2545
dc.identifier.citation วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 31,1(ม.ค.-มิ.ย. 2545),83-104 en
dc.identifier.issn 0125-4820
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13455
dc.description.abstract ความสนใจทางด้านคติชนในประเทศญี่ปุ่นเริ่มขึ้นตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 18 หรือ ปลายสมัยเอโดะ ศูนย์กลางของการศึกษาส่วนใหญ่ได้แก่นักปราชญ์แห่งกลุ่ม “โคะกุงะกุ” (กลุ่มศึกษาวัฒนธรรมญี่ปุ่นโบราณ) เช่น โมะโตะโอะริ โนะรินะงะ ฮิระตะ อะท์ซุตะเนะ เป็นต้น ความตื่นตัวในการอนุรักษ์ข้อมูลคติชนลดลงเมื่อเข้าสู่สมัยเมจิ เนื่องจากอิทธิพลของแนวคิดปรับปรุงประเทศแบบตะวันตก อย่างไรก็ดี วิทยาการใหม่ๆ ที่เข้ามาในญี่ปุ่นในช่วงดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งมานุษยวิทยาก็ได้กระตุ้นความสนใจและวางรากฐาน การศึกษาวัฒนธรรม จนกระทั่งเกิดนักวิชาการคนสำคัญ ได้แก่ ยะนะงิตะ คุนิโอะ ผู้วางรากฐานการศึกษาคติชนอย่างเป็นระบบให้แก่ญี่ปุ่น ยะนะงิตะให้ความสำคัญกับวัฒนธรรมความเป็นอยู่ของเกษตรกรซึ่งเป็นชนกลุ่มใหญ่ของประเทศมาก เพระเขาคิดว่าจะเป็นแนวทางนำไปสู่การทำความเข้าใจแก่นแท้ของวัฒนธรรมญี่ปุ่น นอกจากนี้ จุดเด่นของแนวคิดของเขาคือ เน้นให้นำวิชาการไปใช้ในทางปฏิบัติ ขอบข่ายการศึกษาคติชนของเขาจึงมีเนื้อหาครอบคลุมในแทบทุกด้านที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต แต่ก็มีข้อเสียคือไม่มีทฤษฎีที่ชัดเจน ตลอดจนมีความคลุมเครือในการนิยามศัพท์เฉพาะ อันเป็นปัญหาใหญ่อย่างหนึ่งที่นักคติชนในปัจจุบันต้องนำมาศึกษาวิเคราะห์ต่อไป en
dc.description.abstractalternative The interest in folklore in Japan began in the late 18th century (late Edo Period). The center of the study was mostly among the group of scholars named “Kokugaku” (an ancient Japanese culture study group) such as Motoori Norinaga, Hirata Atsutane, etc. At the beginning of the Meiji Period, the motivation to collect folk materials was lessened by the influence which westernization. However, the new knowledge, especially anthropology which enteried Japan in that period, stimulated interest and laid the foundation for the study of culture. The result of this was that an important scholar named Yanagita Kunio established the systematic framework for folk study in Japan. Yanigita gave high importance to the life-style of the peasants, who were the majority of Japanese population. This was because he believed that it could be a way to understand the root of Japanese culture. Moreover, by stressing the practical application of knowledge his studies cover nearly all aspects of life. However, the weak points are that his work has no clear theory and his technical terms and definition are vague. These are big problems that folklorists at the present have to investigate further. en
dc.format.extent 2279833 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject คติชาวบ้าน -- การศึกษาและการสอน -- ญี่ปุ่น en
dc.subject วัฒนธรรมญี่ปุ่น en
dc.subject ญี่ปุ่น -- ความเป็นอยู่และประเพณี en
dc.title การศึกษาคติชนในประเทศญี่ปุ่นสมัยเอโดะถึงสงครามโลกครั้งที่สอง en
dc.title.alternative Folklore studies in Japan : from the Edo period to the Second World War en
dc.type Article es
dc.email.author Chomnard.S@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record