dc.contributor.author |
Supakarn Iamharit |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Arts |
|
dc.date.accessioned |
2010-09-11T08:24:33Z |
|
dc.date.available |
2010-09-11T08:24:33Z |
|
dc.date.issued |
2002 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 31,1(ม.ค.-มิ.ย. 2545),105-124 |
en |
dc.identifier.issn |
0125-4820 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13456 |
|
dc.description.abstract |
To emphasize the value of revenge tragedy, which is not written merely to satisfy the audience’s predilection for horror but, through mayhem and sensational forms of chaos on stage, is designed to illustrate an impartial justice that hardly exists in society, human malice, and the disruption of morality in hierarchical society. The plays selected to exemplify these ideas are Thomas Kyd’s The Spanish Tragedy, William Shakespeare’s Hamlet and cyril Tourneur’s The revenger’s Tragedy. |
en |
dc.description.abstractalternative |
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเน้นคุณค่าของบทละครโศกนาฏกรรมแนวล้างแค้นว่า มิใช่เขียนขึ้นเพื่อสนองความต้องการของผู้ชมความสยดสยองและหวาดเสียวบนเวทีละครเท่านั้น แต่ยังมีผลให้ผู้ชมตระหนักว่าความยุติธรรมที่เที่ยงแท้นั้นแทบจะหาไม่ได้ในสังคม อีกทั้งเห็นถึงความเลวร้ายในกมลสันดานของมนุษย์ และความแหลกเหลวทางด้านศีลธรรมในสังคมที่มีระบอบการปกครองที่แบ่งชั้นวรรณะ บทละคร 3 เรื่องที่นำมาใช้สนับสนุนแนวคิดดังกล่าว ได้แก่ เรื่อง The Spanish Tragedy ของ Thomas Kyd เรื่อง Hamlet ของ Shakespeare และเรื่อง The Revenger’s Tragedy ของ Cyril Tourneur. |
en |
dc.format.extent |
1844989 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
en |
es |
dc.publisher |
Faculty of Arts, Chulalongkorn University |
en |
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en |
dc.subject |
Tragedy |
en |
dc.subject |
Drama |
en |
dc.title |
Revenge tragedy : the morality beneath the mayhem |
en |
dc.title.alternative |
ละครโศกนาฏกรรมแนวล้างแค้น : ศีลธรรมเบื้องหลังความสับสนอลหม่าน |
en |
dc.type |
Article |
es |
dc.email.author |
Supakarn.I@Chula.ac.th |
|