DSpace Repository

Struggling to get connected : the process of maternal attachment to the preterm infant in the neonatal intensive care unit

Show simple item record

dc.contributor.advisor Veena Jirapaet
dc.contributor.advisor Branom Rodcumdee
dc.contributor.author Rachtawon Orapiriyakul
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Nursing
dc.date.accessioned 2010-10-20T06:02:10Z
dc.date.available 2010-10-20T06:02:10Z
dc.date.issued 2006
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13692
dc.description Thesis (Ph.D)--Chulalongkorn University, 2006 en
dc.description.abstract Hospitalization of preterm infants in the NICU is crisis for mothers in developing an attachment process. The purpose of this grounded theory study was to explore how mothers in Thailand develop maternal attachment to infants born preterm, and requiring NICU hospitalization. Fifteen Thai mothers whose preterm infants had birth weights less than 1,500g, without congenital anomalies, and experienced mechanical ventilation were interviewed and audiotaped. Four mother-preterm infant dyads interaction were observed and videotaped. The audiotape and videotape were transcribed for analysis. Textual data were analyzed through the constant comparative method developed by Strauss and Corbin. Findings indicate the basic social process of maternal attachment was "Struggling to Get Connected" through the crisis circumstance of preterm birth, composed of 4 phases of establishing the connections, disrupting of the connection, resuming to get connected, and becoming connected. The movement of actions/interactions of maternal attachment to the preterm infants in these phases depended on having concern for the baby, adjusting emotionally to the crisis, supporting connections, life experience, and health care system facilitating. Discussion included the cultural context. Understanding this process was valued in clinical practice and nursing education. Future direction of qualitative and quantitative investigation was recommended. en
dc.description.abstractalternative การพักรักษาในหน่วยบริบาลทารกแรกเกิดของบุตรที่คลอดก่อนกำหนดเป็นภาวะวิกฤตสำหรับมารดาในการพัฒนาความรู้สึกรักใคร่ผูกพันต่อบุตร การศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพนี้ จึงเพิ่มความเข้าใจกระบวนการการพัฒนาความรู้สึกรักใคร่ผูกพันดังกล่าวของมารดาที่บุตรมีน้ำหนักแรกเกิดน้อยกว่า 1,500 กรัม ไม่มีความพิการแต่กำเนิด และกำลังพักรักษาในหน่วยบริบาลทารกแรกเกิดของโรงพยาบาลในจังหวัดสงขลา เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์เจาะลึกมารดาพร้อมบันทึกแถบเสียงการสัมภาษณ์ จนข้อมูลอิ่มตัวจำนวน 15 คน และสังเกตพฤติกรรมของมารดาขณะมีปฏิสัมพันธ์กับบุตรขณะเยี่ยมในหน่วยบริบาลทารกแรกเกิดพร้อมบันทึกภาพวิดีโอ จำนวน 4 ราย การวิเคราะห์ข้อมูลกระทำไปพร้อมๆกับการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูลจากการสัมภาษณ์และการสังเกตได้รับการถอดเทปและบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรและวิเคราะห์โดยวิธีการวิเคราะห์เชิงเปรียบเทียบและการให้รหัสข้อมูล ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่ากระบวนการพัฒนาความรู้สึกรักใคร่ผูกพันต่อบุตรเกิดขึ้นด้วย ความยากลำบากท่ามกลางภาวะวิกฤตจึงให้ชื่อว่า "กว่าจะรักและผูกพันกัน: การพัฒนาความรู้สึกรักใคร่ผูกพันของมารดาต่อบุตรคลอดก่อนกำหนดในหน่วยบริบาลทารกแรกเกิด" มี 4 ระยะได้แก่ 1) ระยะเริ่มพัฒนาความสัมพันธ์ 2) ระยะความสัมพันธ์ถูกชะงักงัน 3) ระยะฟื้นความสัมพันธ์ และ 4) ระยะความรู้สึกรักใคร่ผูกพันระหว่างมารดาและบุตรพัฒนาสู่ปกติ การเปลี่ยนแปลงในแต่ละระยะของการพัฒนาความรู้สึกรักใคร่ผูกพันนี้ขึ้นกับ การตระหนักถึงภาวะของบุตร การปรับสภาพอารมณ์ต่อภาวะวิกฤต การสนับสนุนทางสังคม การมีประสบการณ์ชีวิต และการบริการด้านสุขภาพการอภิปรายครอบคลุมบริบททางวัฒนธรรม ประโยชน์ต่อการพัฒนาการปฏิบัติพยาบาล การศึกษาพยาบาลและการพัฒนาการวิจัย en
dc.format.extent 1350096 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso en es
dc.publisher Chulalongkorn University en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1779
dc.rights Chulalongkorn University en
dc.subject Infants (Premature) en
dc.subject Pediatric intensive care en
dc.title Struggling to get connected : the process of maternal attachment to the preterm infant in the neonatal intensive care unit en
dc.title.alternative กว่าจะรักและผูกพันกัน : การพัฒนาความรู้สึกรักใคร่ผูกพันของมารดาต่อบุตรคลอดก่อนกำหนดในหน่วยบริบาลทารกแรกเกิด en
dc.type Thesis es
dc.degree.name Doctor of Philosophy es
dc.degree.level Doctoral Degree es
dc.degree.discipline Nursing Science es
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en
dc.email.advisor Veena.J@Chula.ac.th
dc.email.advisor Pranom.R@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2006.1779


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record