DSpace Repository

ขอทานในสังคมไทย

Show simple item record

dc.contributor.author ธิบดี บัวคำศรี
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์
dc.coverage.spatial ไทย
dc.date.accessioned 2010-10-30T08:05:56Z
dc.date.available 2010-10-30T08:05:56Z
dc.date.issued 2547
dc.identifier.citation วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 33,2(ก.ค.-ธ.ค. 2547),145-196 en
dc.identifier.issn 0125-4820
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13806
dc.description.abstract คนขอทานในสังคมไทยสมัยจารีตมีสถานะทางสังคมต่ำสุดเสมอกับทาส แต่แม้ว่าจะมีสถานะดังกล่าวและถูกเหยียดหยาม สังคมสมัยจารีตยอมรับคนขอทานเป็นส่วนหนึ่งของสังคม อยู่ร่วมทุกข์กันในวัฏสงสาร โดยมีทัศนะและวิธีปฏิบัติต่อคนขอทานวางอยู่บนความเชื่อเรื่องบุญกรรม เรื่องเวทนาสงสาร เรื่องทาน และการให้ทาน กระทั่งเมื่อล่วงเข้าสู่ช่วงรัฐสมัยใหม่ สายตาที่รัฐและคนสมัยใหม่พิจารณาคนขอทานเริ่มเปลี่ยนไป คนขอทานถูกมองว่าเป็นคนที่ไร้คุณภาพ ไร้ประโยชน์ กีดขวางความเจริญ ไม่เป็นที่ปรารถนา คนขอทานและคนจำพวกอื่นๆ ที่ไม่เป็นที่พึงปรารถนาเหล่านี้จึงถูกกีดกันและกำจัดออกนอกสายตาและวิถีความเจริญของรัฐและสังคมสมัยใหม่ en
dc.description.abstractalternative Beggars in traditional Thai society, though accorded with the lowest status, equivalent to slaves, in the Thai social pyramid, were nonetheless accepted as bona fide members of society. This was essentially in accordance with Buddhist teachings of, among others, karma, vedana, and dana. However, once ‘modernity’ set in, the way the state and the people at large looked at this particular social group changed radically. They are considered ‘non-productive’ and an obstacle to ‘progress’. en
dc.format.extent 3574707 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ขอทาน -- ไทย en
dc.title ขอทานในสังคมไทย en
dc.title.alternative Beggars in Thai society en
dc.type Article es
dc.email.author ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record