DSpace Repository

ผู้หญิงไทยในกฎหมายตราสามดวง : จากผู้หญิงเป็นใหญ่ถึงผู้หญิงเป็นควายผู้ชายเป็นคน

Show simple item record

dc.contributor.author พรเพ็ญ ฮั่นตระกูล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยศิลปากร. คณะอักษรศาสตร์
dc.coverage.spatial ไทย
dc.date.accessioned 2010-11-27T06:57:38Z
dc.date.available 2010-11-27T06:57:38Z
dc.date.issued 2546
dc.identifier.citation วารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 32,1(ม.ค.-มิ.ย. 2546),246-299 en
dc.identifier.issn 0125-4820
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14012
dc.description บทความนี้ปรับปรุงจากเรื่องเดิมซึ่งเป็นเอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการของสมาคมประวัติศาสตร์ เรื่อง "บทบาทสตรีไทย : มุมมองจากประวัติศาสตร์และวรรณกรรม" วันที่ 15 ก.พ. 2546 ณ ห้องประชุมคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.description.abstract บทความนี้ให้ภาพประวัติศาสตร์เกี่ยวกับสตรีไทย โดยสะท้อนให้เห็นถึงสถานภาพของสตรีไทยในด้านต่างๆ คือ ด้านชีววิทยา ความสัมพันธ์กับครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง บทวิเคราะห์นี้ใช้หลักฐานสำคัญ 2 อย่างคือ 1. ภาษิตโบราณของกลุ่มชาติพันธุ์ไตหรือไทยในเวียดนามภาคตะวันตกเฉียงเหนือ ภาษิตไตหรือไทยดังกล่าวผู้เขียนอ่านจากภาษาเวียดนาม 2. กฎหมายตราสามดวง กฎหมายประเพณีของไทยนี้มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยาหรือก่อนหน้าขึ้นไป หลักฐานชิ้นแรกชี้ถึงโครงสร้างในอดีตที่ต่อเนื่องของสังคมเกษตรโบราณไทยโดยสังคมนี้ได้สืบทอดแนวคิดเรื่องความเสมอภาคระหว่างชายหญิงจากพื้นฐานสังคมหมู่บ้านไทย แต่ในขณะเดียวกันสังคมก็แสดงพัฒนาการอำนาจปิตาธิปไตยอย่างเห็นได้ชัดแล้วหลักฐานชิ้นที่สองทำให้เห็นสองรูปแบบของกฎเกณฑ์และกฎหมายของรัฐ ซึ่งได้ลดทอนสถานภาพและบทบาทของสตรีไทยลงไปเรื่อยๆ กฎหมายนี้แท้ที่จริงได้เปิดเผยให้เห็นถึงสิทธิและผลประโยชน์ของผู้ชายอันมีมากกว่าผู้หญิงอย่างมาก นอกจากนี้ กฎหมายตราสามดวงได้บอกให้เรารู้ถึงปัญหาที่รุนแรงบางอย่างในสังคมประเพณีไทย ดังนี้ 1. ความยากลำบากต่างๆ ของผู้หญิง โดยเฉพาะการทำงานหนักแทบทุกอย่างในครัวเรือน และการเอารัดเอาเปรียบต่างๆ ตามปกติของผู้ชาย 2. สิ่งที่เห็นชัดคือมีอาชญากรรมและการคุกคามทางเพศ การทะเลาะเบาะแว้งต่างๆ ภายในครอบครัว ปัญหาข้างต้นยังซ่อนปัญหาสืบเนื่องไปถึงการแตกสลายของครอบครัวด้วย 3. ผู้หญิงไทยในสังคมประเพณีไร้ศักดิ์ศรีของตนเอง ไร้อิสรภาพ และดูจะขาดความสุขที่แท้จริง en
dc.description.abstractalternative The main purpose of this article is to give a historical picture of Thai women. It examines their status within the family, society and politics and also from biological and economical perspectives. The analyses presented in this study are based in the main on two sources: 1. The archaic Thai proverbs of the Tai or Thai peoples in Northwestern Vietnam recorded in the modern Vietnamese language which the author reads. 2. The law of the Three Seals, traditional statute of the Thai Kingdom since Ayuthaya period. The first source helps point out the continuity of structure in archaic Thai agronomic society. This structure is still found today, based on equality between men and women. However, it is an a pseudo-equality that favours men and helps develop and maintain paternal power. The second source shows how the formation of state laws increasingly reduced the status and roles of women. The law actually assures much greater rights and benefits for men than it does for women. And, finally, the law itself tells us of some serious problems of traditional Thai society as follows: 1. The extreme hardships of Thai women in the past, especially from domestic overwork and exploitation by men. 2. Conspicuous, sexual crime, sexual harassment and family quarrels. And under the surface the problems of broken families. 3. Thai women in traditional society lack self-esteem, independence and real happiness. en
dc.format.extent 4035425 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject กฎหมายตราสามดวง en
dc.subject สตรี -- ไทย en
dc.subject สตรี -- สถานภาพทางกฎหมาย -- ไทย en
dc.subject สตรี -- ไทย -- ภาวะสังคม en
dc.title ผู้หญิงไทยในกฎหมายตราสามดวง : จากผู้หญิงเป็นใหญ่ถึงผู้หญิงเป็นควายผู้ชายเป็นคน en
dc.title.alternative Thai women in the Three Seals Code : from matriarchy to subordination en
dc.type Article es
dc.email.author ไม่มีข้อมูล


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record