DSpace Repository
แผนปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ : รายงานการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
Login
DSpace Home
→
Faculty and Institute
→
Faculty of Architecture - Arch
→
Arch - Research Reports
→
View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.
แผนปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ : รายงานการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
ศิริวรรณ ศิลาพัชรนันท์
;
นิรมล กุลศรีสมบัติ
;
อังสนา บุณโยภาส
;
กนกวลี สุธีธร
;
ตรีชาติ เลาแก้วหนู
;
พงศธร เนตรวิเชียร
;
วรนุช จำปานิล
;
สุภาณี วงษ์ชัยสุวรรณ
;
สุวิชชา หย่องฮวย
;
อนุตรา ไชยนันทน์
;
วีรกิต วงศ์วิชิต
;
ศุภลัคน์ ผิวบาง
;
พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์
;
ประทับจิต นีละไพจิตร
;
จิรภา พฤกษ์พาดี
;
เอกรินทร์ ต่วนศิริ
;
โดวัล, เดวิด
;
โมซินโก, หลุยส์
;
เฟลด์มาน, เบนจามิน
;
บูเออร์เมอิสเตอร์, เฟรด
;
ฮอร์เน, เจเดดีอาห์
;
ฮวง, วินิตา
;
กาฟฟ์นี, แอนเดรีย
;
มาราวิลลา, คริสติน
;
มองท์โกเมรี, บริททานี
;
เบคเลย์, แจคลีน
;
ควินน์, เจนนีเฟอร์
URI:
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14046
Date:
2551
Abstract:
หลังจากเกิดเหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยขึ้นในพื้นที่ 6 จังหวัดชายฝั่งทะเลอันดามัน เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างประเมินค่ามิได้ต่อทั้งชีวิตและทรัพย์สินรวมถึงอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเบอร์กลี่ย์ ตระหนักถึงความสำคัญของการฟื้นฟูการท่องเที่ยวในพื้นที่ประสบภัยธรรมชาติ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนควบคู่กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและมรดกทางวัฒนธรรมของท้องถิ่น จึงเกิดความร่วมมือทางวิชาการภายใต้การสนับสนุนของมูลนิธินโยบายสาธารณะไทย โดยใช้จังหวัดกระบี่เป็นกรณีศึกษาในปี พ.ศ. 2548 เรื่อง “แผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในจังหวัดกระบี่” และ ในพ.ศ. 2549 เรื่อง “แผนแม่บทเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในเกาะลันตาใหญ่ จังหวัดกระบี่” และในพ.ศ. 2550 ดำเนินการศึกษาวิจัยภายใต้หัวข้อ “แผนปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในเกาะลันตา จังหวัดกระบี่” ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 คณาจารย์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเบอร์กลี่ย์ และผู้แทนจากมูลนิธินโยบายสาธาณณะไทยเดินทางไปยังเกาะลันตา จังหวัดกระบี่เพื่อพบปะผู้นำท้องถิ่นและหน่วยงานราชการต่างๆ เพื่อสำรวจข้อมูลเบื้องต้นเพื่อเตรียมแผนงานและกำหนดกรอบการศึกษาวิจัย หลังจากนั้นคณะวิจัยจึงสำรวจพื้นที่โดยมีประเด็นหลักในการศึกษา 3 เรื่อง คือ 1) สภาพแวดล้อม 2) ท่องเที่ยวและชุมชน และ 3) คมนาคมขนส่ง หลังจากนั้นจึงร่วมกันวิเคราะห์สภาพปัญหาและปรึกษาหารือกับผู้เชี่ยวชาญจากหลากหลายสาขา จนได้ข้อเสนอแนะในการแก้ประเด็นปัญหาต่างๆ เพื่อให้เกาะลันตาไปสู่การเป็นต้นแบบในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน หลังจากนั้นจึงนำเสนอข้อเสนอแนะให้กับประชาชนชาวเกาะลันตา เพื่อรับฟังความคิดเห็นและนำมาปรับปรุงในรายงานการศึกษาวิจัยข้อเสนอแนะในการแก้ไขประเด็นปัญหาสำคัญทั้งสามกลุ่ม ถูกนำเสนอในรูปของแผนนโยบาย มาตรการ กฎหมาย และโครงการ ภายใต้กรอบการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโดยอาศัยเครื่องมือสำคัญในการขับเคลื่อนตามแผนนั่นก็คือ “โหมว” หรือกลุ่มชุมชน (Cluster) โดยแบ่งพื้นที่เกาะลันตาทั้งหมดออกเป็น 7 กลุ่มชุมชนตามพื้นที่ลุ่มน้ำและระบบนิเวศของมนุษย์ หลังจากดำเนินการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการเป็นเวลา 3 ปี จนสามารถกลั่นกรองแนวทางในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ซึ่งเป็นที่ยอมรับของประชาชนชาวลันตา ดังนั้นในขั้นตอนต่อไป คือการนำแผนไปปฏิบัติ โดยการสนับสนุนจากมูลนิธินโยบายสาธารณะไทย หน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่นในเกาะลันตาและคณะผู้วิจัยคัดเลือกโครงการขนาดย่อม 3 โครงการมาดำเนินการต่อไปในอนาคต ได้แก่ โครงการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณหาดคอกวาง โครงการแผนที่มรดกทางวัฒนธรรมบ้านศรีรายา และการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมโดยชุมชน ซึ่งคาดว่าน่าจะมีผลต่อเกาะลันตาไปสู่การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในอนาคต
Show full item record
Files in this item
Name:
siriwan.pdf
Size:
10.19Mb
Format:
PDF
View/
Open
This item appears in the following Collection(s)
Arch - Research Reports
[55]
Related items
Showing items related by title, author, creator and subject.
การศึกษาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การวางแผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในจังหวัดกระบี่ : รายงานฉบับสมบูรณ์
โดวัล, เดวิด
;
แชพเพิล,คาเร็น
;
chapple@berkeley.edu
(
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
,
2548
)
การวิเคราะห์เชิงยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวของพื้นที่กลุ่มจังหวัดอันดามัน (ภูเก็ต กระบี่ และพังงา)
ดุสดีภา การบุญ
(
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
,
2551
)
การศึกษาวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ ทิศทางเชิงยุทธศาสตร์ในการพัฒนาพื้นที่ของกลุ่มจังหวัดอันดามันให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวระดับโลกอย่างยั่งยืน และวิเคราะห์ระบบคุณภาพการบริหา ...
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมชุมชนเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยว : กรณีศึกษาเกาะพีพี จังหวัดกระบี่
จิราวดี อ่อนวงศ์
(
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
,
2539
)
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมชุมชนเกาะพีพี เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการท่องเที่ยว โดยศึกษาในประเด็น ด้านการพัฒนาการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ที่มีความล้มพันธ์กับกิจกรรมในพื้นที่ ด้าน ความคิดเห็นของกลุ่มคนต่าง ...
Search DSpace
Search DSpace
This Collection
Advanced Search
Browse
All of DSpace
Communities & Collections
By Issue Date
Authors
Titles
Subjects
xmlui.ArtifactBrowser.Navigation.browse_discipline
This Collection
By Issue Date
Authors
Titles
Subjects
xmlui.ArtifactBrowser.Navigation.browse_discipline
My Account
Login
Register
Statistics
View Usage Statistics