DSpace Repository

แผนปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ : รายงานการวิจัยเชิงปฏิบัติการ

Show simple item record

dc.contributor.author ศิริวรรณ ศิลาพัชรนันท์
dc.contributor.author นิรมล กุลศรีสมบัติ
dc.contributor.author อังสนา บุณโยภาส
dc.contributor.author กนกวลี สุธีธร
dc.contributor.author ตรีชาติ เลาแก้วหนู
dc.contributor.author พงศธร เนตรวิเชียร
dc.contributor.author วรนุช จำปานิล
dc.contributor.author สุภาณี วงษ์ชัยสุวรรณ
dc.contributor.author สุวิชชา หย่องฮวย
dc.contributor.author อนุตรา ไชยนันทน์
dc.contributor.author วีรกิต วงศ์วิชิต
dc.contributor.author ศุภลัคน์ ผิวบาง
dc.contributor.author พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์
dc.contributor.author ประทับจิต นีละไพจิตร
dc.contributor.author จิรภา พฤกษ์พาดี
dc.contributor.author เอกรินทร์ ต่วนศิริ
dc.contributor.author โดวัล, เดวิด
dc.contributor.author โมซินโก, หลุยส์
dc.contributor.author เฟลด์มาน, เบนจามิน
dc.contributor.author บูเออร์เมอิสเตอร์, เฟรด
dc.contributor.author ฮอร์เน, เจเดดีอาห์
dc.contributor.author ฮวง, วินิตา
dc.contributor.author กาฟฟ์นี, แอนเดรีย
dc.contributor.author มาราวิลลา, คริสติน
dc.contributor.author มองท์โกเมรี, บริททานี
dc.contributor.author เบคเลย์, แจคลีน
dc.contributor.author ควินน์, เจนนีเฟอร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเบอร์กลี่ย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเบอร์กลี่ย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเบอร์กลี่ย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเบอร์กลี่ย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเบอร์กลี่ย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเบอร์กลี่ย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเบอร์กลี่ย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเบอร์กลี่ย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเบอร์กลี่ย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเบอร์กลี่ย์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเบอร์กลี่ย์
dc.coverage.spatial กระบี่
dc.date.accessioned 2010-12-15T04:15:44Z
dc.date.available 2010-12-15T04:15:44Z
dc.date.issued 2551
dc.identifier.isbn 9789740582854
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/14046
dc.description.abstract หลังจากเกิดเหตุการณ์ธรณีพิบัติภัยขึ้นในพื้นที่ 6 จังหวัดชายฝั่งทะเลอันดามัน เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างประเมินค่ามิได้ต่อทั้งชีวิตและทรัพย์สินรวมถึงอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเบอร์กลี่ย์ ตระหนักถึงความสำคัญของการฟื้นฟูการท่องเที่ยวในพื้นที่ประสบภัยธรรมชาติ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนควบคู่กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและมรดกทางวัฒนธรรมของท้องถิ่น จึงเกิดความร่วมมือทางวิชาการภายใต้การสนับสนุนของมูลนิธินโยบายสาธารณะไทย โดยใช้จังหวัดกระบี่เป็นกรณีศึกษาในปี พ.ศ. 2548 เรื่อง “แผนยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในจังหวัดกระบี่” และ ในพ.ศ. 2549 เรื่อง “แผนแม่บทเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในเกาะลันตาใหญ่ จังหวัดกระบี่” และในพ.ศ. 2550 ดำเนินการศึกษาวิจัยภายใต้หัวข้อ “แผนปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในเกาะลันตา จังหวัดกระบี่” ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550 คณาจารย์จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยแห่งมลรัฐแคลิฟอร์เนีย วิทยาเขตเบอร์กลี่ย์ และผู้แทนจากมูลนิธินโยบายสาธาณณะไทยเดินทางไปยังเกาะลันตา จังหวัดกระบี่เพื่อพบปะผู้นำท้องถิ่นและหน่วยงานราชการต่างๆ เพื่อสำรวจข้อมูลเบื้องต้นเพื่อเตรียมแผนงานและกำหนดกรอบการศึกษาวิจัย หลังจากนั้นคณะวิจัยจึงสำรวจพื้นที่โดยมีประเด็นหลักในการศึกษา 3 เรื่อง คือ 1) สภาพแวดล้อม 2) ท่องเที่ยวและชุมชน และ 3) คมนาคมขนส่ง หลังจากนั้นจึงร่วมกันวิเคราะห์สภาพปัญหาและปรึกษาหารือกับผู้เชี่ยวชาญจากหลากหลายสาขา จนได้ข้อเสนอแนะในการแก้ประเด็นปัญหาต่างๆ เพื่อให้เกาะลันตาไปสู่การเป็นต้นแบบในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน หลังจากนั้นจึงนำเสนอข้อเสนอแนะให้กับประชาชนชาวเกาะลันตา เพื่อรับฟังความคิดเห็นและนำมาปรับปรุงในรายงานการศึกษาวิจัยข้อเสนอแนะในการแก้ไขประเด็นปัญหาสำคัญทั้งสามกลุ่ม ถูกนำเสนอในรูปของแผนนโยบาย มาตรการ กฎหมาย และโครงการ ภายใต้กรอบการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนโดยอาศัยเครื่องมือสำคัญในการขับเคลื่อนตามแผนนั่นก็คือ “โหมว” หรือกลุ่มชุมชน (Cluster) โดยแบ่งพื้นที่เกาะลันตาทั้งหมดออกเป็น 7 กลุ่มชุมชนตามพื้นที่ลุ่มน้ำและระบบนิเวศของมนุษย์ หลังจากดำเนินการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการเป็นเวลา 3 ปี จนสามารถกลั่นกรองแนวทางในการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ซึ่งเป็นที่ยอมรับของประชาชนชาวลันตา ดังนั้นในขั้นตอนต่อไป คือการนำแผนไปปฏิบัติ โดยการสนับสนุนจากมูลนิธินโยบายสาธารณะไทย หน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่นในเกาะลันตาและคณะผู้วิจัยคัดเลือกโครงการขนาดย่อม 3 โครงการมาดำเนินการต่อไปในอนาคต ได้แก่ โครงการออกแบบปรับปรุงภูมิทัศน์บริเวณหาดคอกวาง โครงการแผนที่มรดกทางวัฒนธรรมบ้านศรีรายา และการเฝ้าระวังสิ่งแวดล้อมโดยชุมชน ซึ่งคาดว่าน่าจะมีผลต่อเกาะลันตาไปสู่การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในอนาคต en
dc.description.abstractalternative In the aftermath of a devastating quake disaster hitting 6 coastal provinces on the Andaman Sea on December 26, 2004 and causing extensive damage to life, property and tourism. Chulalongkorn University and University of California at Berkeley, aware of the prime importance of the efforts to rehabilitate tourism in the severely affected areas in order to raise the quality of life along with the conservation of environmental resources and local cultural heritage, have joined hands in technical cooperation under the support of the Thai Public Policy Foundation. To attain this goal, Krabi province was chosen for a case study in 2005, entitled “Implementation Plan for Sustainable Development for Ko Lanta, Krabi Province” , then in 2006, a research project entitled “ A Master Plan for Sustainable Tourism Development in Lanta Yai Island, Krabi Province” and followed by a research project in 2007 entitled “ Implementation Plan for Sustainable Tourism Development , Ko Lanta, Krabi Province” were formulated. In 2007, Chulalongkorn University members and their counterparts from the University of California at Berkeley and the Thai Public Policy Foundation conducted a field trip to Ko Lanta, Krabi province to meet with local leaders and various government authorities to collect preliminary data for the preparation of the implementation plan and the framework of the research. Subsequently, the research team made a fieldtrip focusing on 3 themes : 1) environment 2) tourism and community and 3) transportation. They then analyzed the state of problems and consulted experts in respective fields. This was followed by recommendations on how various problems should be addressed with a view to making Ko Lanta a model for sustainable tourism development. Eventually, they proposed these recommendations to the local residents of Ko Lanta in order to elicit feedback which are incorporated in the preparation of the complete final report. Recommendations on the three themes are presented as policies, measures, laws and projects within the framework of sustainable tourism development using “Mo” (cluster) as an important driving mechanism for the implementation plan. These are altogether seven clusters of villages living along canals (watersheds) in their respective ecological systems. The three-year research has crystallized into sustainable tourism development outlines accepted by local residents of Ko Lanta. In the following phase, this plan shall be implemented with the support of the Thai Public Policy Foundation and the local administrations of Ko Lanta and 3 projects are proposed by the research team for implementation in the future. They are 1) The landscaping design project for Khor Kwang beach , 2) cultural heritage atlas of Ban Sriraya and 3) the monitoring project by the local community for the environment (community watch). These projects are expected to have direct impacts on the future sustainable tourism in Ko Lanta. en
dc.description.sponsorship สนับสนุนโดย มูลนิธินโยบายสาธารณะไทย และ บริษัท กรีนสปอต จำกัด en
dc.format.extent 10689668 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject แผนพัฒนาการท่องเที่ยว -- ไทย -- เกาะลันตา (กระบี่) en
dc.subject การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ -- ไทย -- เกาะลันตา (กระบี่) en
dc.subject อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- ไทย -- เกาะลันตา (กระบี่) en
dc.subject เกาะลันตา (กระบี่) -- ภูมิประเทศและการท่องเที่ยว en
dc.title แผนปฏิบัติการเพื่อการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในเกาะลันตา จังหวัดกระบี่ : รายงานการวิจัยเชิงปฏิบัติการ en
dc.title.alternative Implementation plan for sustainable tourism development, Ko Lanta, Krabi Province en
dc.type Technical Report es
dc.email.author Siriwan.S@Chula.ac.th
dc.email.author Niramol.K@Chula.ac.th
dc.email.author Angsana.B@Chula.ac.th
dc.email.author Kanokwalee.S@Chula.ac.th
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author Pitch.P@Chula.ac.th
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author dowall@berkeley.edu
dc.email.author lmozingo@berkeley.edu
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.email.author ไม่มีข้อมูล
dc.subject.keyword โหมว en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record