DSpace Repository

Reactive distillation of amyl alcohol with acetic acid over amberlyst 15, dowex and zeolite-Hβ

Show simple item record

dc.contributor.advisor Suttichai Assabumrungrat
dc.contributor.author Anchan Paethanom
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
dc.date.accessioned 2011-09-28T11:37:20Z
dc.date.available 2011-09-28T11:37:20Z
dc.date.issued 2009
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16020
dc.description Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2009 en
dc.description.abstract To investigate the esterification reaction of amyl alcohol with acetic acid. This research is divided into two parts; experimental studies to find the kinetic rate of the amyl acetate esterification catalyzed by beta zeolite and simulation studies which is separated into two section; first, batch reactor, to compare between the results of the reaction of three catalysts; beta zeolite, Amberlyst 15 and Dowex at each temperature and second, reactive distillation which various process configurations and operating variables were investigated. All simulation results were based on the same product specification that the bottom stream contained amyl acetate with a concentration not less than 98 mol%. The commercial Aspen Plus program is used to simulate and their energy consumption and economic analysis are also investigated. For the kinetic studies, it was found that the Langmuir-Hinshelwood activity based model apparently shows the best kinetic model. The activation energy and the heat of adsorption of water are 73.71 and 40.95 kJ/mol respectively. From the simulation, beta zeolite showed the best performance in the batch reactor. The reactive distillation equipped with a decanter is a suitable column configuration. However, when considering the total annual cost for the case using Amberlyst 15 as a catalyst with 35 wt% acetic acid feed, it was revealed that the reactive distillation equipped with a decanter consisting of 1 rectifying, 15 reaction, and 6 stripping stages offers the lowest total annual cost. en
dc.description.abstractalternative ศึกษาปฏิกิริยาการสังเคราะห์นอร์มอลแอมิลอะซิเตทจากแอมิลแอลกอฮอล์และกรดอะซิติก โดยงานวิจัยได้แบ่งออกเป็นสองส่วน ในส่วนแรกเป็นการทดลองการเร่งปฏิกิริยาโดยใช้เบต้าซีโอไลต์ เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาเพื่อหาสมการแสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยา และจำลองสมรรถนะของเครื่องปฏิกรณ์แบบกะ เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะในการเร่งปฏิกิริยาของตัวเร่งปฏิกิริยาต่างชนิดกันซึ่งได้แก่ เบต้าซีโอไลต์ แอมเบอลิส 15 และโดเว็กซ์ ที่อุณหภูมิต่างๆ และส่วนที่สองเป็นการศึกษาสมรรถนะและการออกแบบหอกลั่นแบบมีปฏิกิริยา โดยในงานวิจัยนี้ได้กาหนดให้ได้ ผลิตภัณฑ์นอร์มอลแอมิลอะซิเตทที่มีความบริสุทธิ์ไม่ต่ำกว่า 98% โดยโมล การจำลองหอกลั่นแบบมีปฏิกิริยาในการศึกษานี้ ใช้ชุดโปรแกรมทางการค้าชื่อแอสเปน นอกจากนี้ยังศึกษาถึงพลังงานที่ต้องใช้ในปฏิกิริยา และวิเคราะห์ความคุ้มค่าด้านเศรษฐศาสตร์ด้วย ผลการศึกษาพบว่า สมการแสดงอัตราการเกิดปฏิกิริยาที่เหมาะสมที่สุดคือ รูปแบบแลงเมียร์-ฮินเชลวูด โดยพลังงานกระตุ้นและค่าความร้อนของการดูดซับคือ 73.71 และ 40.95 กิโลจูลต่อโมล ตามลำดับ และผลจากการศึกษาแบบจำลองพบว่า ตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสมที่สุดสาหรับปฏิกิริยาการสังเคราะห์นอร์มอลแอมิลอะซิเตท ในเครื่องปฏิกรณ์แบบกะคือเบต้าซีโอไลต์ และระบบหอกลั่นแบบมีปฏิกิริยาที่ติดตั้งอุปกรณ์แยกวัฏภาค (decanter) เป็นระบบที่เหมาะสม และสำหรับการศึกษาในระดับอุตสาหกรรม พบว่า เมื่อพิจารณาค่าใช้จ่ายต่อปีสาหรับกรณีการใช้กรดอะซิติกเจือจาง 35% โดยน้ำหนักเป็นสารตั้งต้นและใช้แอมเบอลิส 15 เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา พบว่าการใช้ระบบหอกลั่นแบบมีปฏิกิริยาที่ติดตั้งอุปกรณ์แยกวัฏภาค (decanter) และมีจำนวนชั้นของปฏิกิริยา 15 ชั้น จำนวนชั้นของสติปปิ้ง 6 ชั้น และเรคติฟายยิง 1 ชั้น เสียค่าใช้จ่ายต่อปีน้อยที่สุด en
dc.format.extent 1807444 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso en es
dc.publisher Chulalongkorn University en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1960
dc.rights Chulalongkorn University en
dc.subject Distillation en
dc.subject Amyl acetate en
dc.subject Zeolite catalysts en
dc.title Reactive distillation of amyl alcohol with acetic acid over amberlyst 15, dowex and zeolite-Hβ en
dc.title.alternative การกลั่นแบบมีปฏิกิริยาระหว่างเอมิลแอลกอฮอล์กับกรดอะซิติก โดยใช้แอมเบอลิส 15, โดเวกซ์ และเบตาซีโอไลท์ เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา en
dc.type Thesis es
dc.degree.name Master of Engineering es
dc.degree.level Master's Degree es
dc.degree.discipline Chemical Engineering es
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en
dc.email.advisor fchsas@eng.chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2009.1960


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record