dc.contributor.author |
ลือชัย ครุธน้อย |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม |
|
dc.coverage.spatial |
ไทย (ภาคกลาง) |
|
dc.coverage.spatial |
กรุงเทพฯ |
|
dc.date.accessioned |
2006-08-09T15:31:42Z |
|
dc.date.available |
2006-08-09T15:31:42Z |
|
dc.date.issued |
2541 |
|
dc.identifier.isbn |
9743311076 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1628 |
|
dc.description.abstract |
การใช้ที่ดินตามผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคา ปี พ.ศ. 2535 ห้ามมิให้มีสิ่งปลูกสร้างที่อยู่อาศัยประเภทห้องแถวหรือตึกแถวในพื้นที่สีเขียว ในขณะการพัฒนาที่ผ่านมามีการเปลี่ยนแปลงการใช้ทีดินจากพื้นที่เกษตรกรรมมาเป็นที่อยู่อาศัยเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะบริเวณแถบชานเมืองทั้งทางฝั่งตะวันตกและฝั่งตะวันออก ทำให้การปรับปรุงผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1) ในปี พ.ศ. 2541 มีการอนุญาตให้ก่อสร้างบ้านแถวและอาคารพาณิชย์ได้ ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงผลกระทบสิ่งแวดล้อมอันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงพื้นที่สีเขียวให้มีสิ่งปลูกสร้างประเภททาวน์เฮาส์และอาคารพาณิชย์ในเขตผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร และในการศึกษาผลกระทบดังกล่าวได้ใช้แนวทางการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านที่อยู่อาศัยของสำนักนโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม โดยศึกษาที่อยู่อาศัยประเภทต่าง ๆ คือ บ้านเดี่ย บ้านแฝด บ้านแถว อาคารพาณิชย์ หอพัก และอาคารชุด ผลการศึกษาปรากฏว่า บ้านแถว อาคารพาณิชย์และหอพัก มีผลกระทบมากที่สุด และผลกระทบด้านการระบายน้ำมีปัญหามากที่สุด เนื่องจากพื้นที่สีเขียวในเขตผังเมืองรวมเป็นพื้นที่เกษตรกรรม และเป็นพื้นที่รับน้ำระบายน้ำลงสู่อ่าวไทย เมื่อมีการก่อสร้างโดยเฉพาะหมู่บ้านจัดสรร ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะด้านการระบายน้ำอยู่แล้ว ในการศึกษาครั้งยร้ได้นำค่าสัมประสิทธิ์การไหลบนผิวดิน (Coefficient : C) มาพิาจารณาในการเปลี่ยนแปลงของการระบายน้ำด้วย การวิจัยครั้งนี้ได้เสนอแนวทางในการเปลี่ยนแปลงอัตราการระบายน้ำ โดยเพิ่มเติมในหมวดที่ 10 ของข้อกำหนดจัดสรรที่ดิน พ.ศ. 2535 คือ กำหนดให้หมู่บ้านจัดสรรมีพื้นที่ชะลอน้ำประมาณร้อยละ 3 ของพื้นที่จำหน่าย หรือพื้นที่ที่มีความเหมาะสมที่ได้จาการคำนวณปริมาณน้ำฝนในพื้นที่เพื่อบรรเทาปัญหาน้ำท่วมที่เกิดขึ้นในพื้นที่สีเขียวคล้ายกับโครงการแก้มลิงซึ่งเป็นโครงการพระราชดำริ และมาตรการที่จะอนุรักษ์พื้นที่เกษตรกรรมไว้ คือ รัฐควรงดเว้นภาษีทีดิน และชดเชยมูลค่าที่ดินที่มีความแตกต่างที่เกิดจากการที่รัฐใช้มาตรการด้านกฎหมายบังคับใช้ |
en |
dc.description.abstractalternative |
According to BMA MAster Plan 1992, block building are not allowed to construct in the area declared as 'green zone". However, land development during the lats five years in western and eastern side of BMA influence land use change from agricultural to residential uses. Therefore, in 1998 the Master Plan has amended and lead to permission of commercial building in green zone. The study aims to investigate environmental impact of the change from green area to be commeraicl buildings, especially affected by building so called townhouse and commercial building. Approach of the study follows the Office of Environment Policy and Planning's guideline for impact study. The building selected for the study includes single houses, twin house, town house, block and residential building, dormitory and condomunium. The result shows that impact on drainage system come from town house, block and residential buildings and dormitory. It can be expalined that the buildings have altered previous surface land from agricultureto paved surface. It is directly impact on reducing watershed area and drainage system. Thus the study refer to runoff coefficient to clarify the impact. The study has suggested the mitigative measure by introduce water storage area for delaying the water to the drainage system to the new development estate at lease three percent of total area. This measure is also corresponding to Kam Ling King's Project. In addition, to reserve agriclutural area in the green zone, land tax reducing for compensation different value of land shhould be considered. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน |
en |
dc.format.extent |
24533911 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม--ไทย--กรุงเทพฯ |
en |
dc.subject |
พื้นที่สีเขียว--ไทย--กรุงเทพฯ |
en |
dc.subject |
การใช้ที่ดิน--ไทย--กรุงเทพฯ |
en |
dc.subject |
ผังเมือง--ไทย--กรุงเทพฯ |
en |
dc.subject |
บ้านแถว |
en |
dc.subject |
ตึกแถว |
en |
dc.title |
การศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงพื้นที่สีเขียว ให้มีสิ่งปลูกสร้างประเภททาวน์เฮาส์และอาคารพาณิชย์ กรณีศึกษา ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร : รายงานวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
Environmental impact assessment on green area resulting from townhouse and commercial building construction case study the Bangkok plan |
en |
dc.type |
Technical Report |
en |