DSpace Repository

อิทธิพลระหว่างประเทศที่มีต่อกฎหมายอาญาไทย : ศึกษากรณีองค์กรอาชญากรรม

Show simple item record

dc.contributor.advisor อภิรัตน์ เพ็ชรศิริ
dc.contributor.author ปาณิศา พัวเวส
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2012-01-19T14:27:54Z
dc.date.available 2012-01-19T14:27:54Z
dc.date.issued 2552
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16528
dc.description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 en
dc.description.abstract ปัญหาองค์กรอาชญากรรมเป็นปัญหาสำคัญที่ประเทศไทยและประชาคมโลกเผชิญอยู่ นานาประเทศจึงได้แสวงหามาตรการทางกฎหมายในการแก้ไขและปราบปรามปัญหาองค์กรอาชญากรรม สำหรับประเทศไทยได้มีการบัญญัติความผิดฐานอั้งยี่ ซ่องโจรในประมวลกฎหมายอาญา ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อรักษาความสงบสุขของประชาชนในสังคม ป้องกันการละเมิดกฎหมายโดยกลุ่มบุคคลหรือคณะบุคคลซึ่งปกปิดวิธีดำเนินการ เมื่อพิจารณาบทบัญญัติความผิดฐานอั้งยี่ ซ่องโจรพบว่า บทบัญญัติกฎหมายดังกล่าวบังคับใช้ได้ผลในระดับหนึ่ง แต่ไม่สามารถนำมาใช้ในการปราบปรามองค์กรอาชญากรรม ที่มีลักษณะการดำเนินการที่มีความสลับซับซ้อนได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ประเทศไทยจึงได้แสวงหามาตรการทางกฎหมายในระดับสากล เพื่อนำมาใช้ในการขจัดปัญหาองค์กรอาชญากรรม ทั้งมาตรการทางกฎหมายที่มีสถานะเป็นข้อตกลงขององค์กรระหว่างประเทศ และกฎหมายจากนานาประเทศ อย่างไรก็ตาม แม้ประเทศไทยจะได้จะนำมาตรการทางกฎหมายในระดับสากลมาบัญญัติไว้ในกฎหมายอาญาของไทย เพื่อนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการปราบปรามองค์กรอาชญากรรม แต่ปัญหาองค์กรอาชญากรรมในประเทศไทยก็มิได้ลดน้อยลง เนื่องจากมาตรการทางกฎหมายที่มีอยู่ในปัจจุบันนั้น มิได้ส่งผลโดยตรงต่อประสิทธิภาพของการปราบปรามองค์กรอาชญากรรม เพราะกฎหมายที่บัญญัติขึ้นไม่สามารถเข้าถึงตัวองค์กรที่กระทำความผิดที่แท้จริงได้ ทำให้การบังคับใช้กฎหมายของไทย กับการกระทำความผิดขององค์กรอาชญากรรมยังมีข้อจำกัด ซึ่งการแก้ไขหรือปรับปรุงความผิดฐานอั้งยี่ ซ่องโจร ตามประมวลกฎหมายอาญาให้มีเนื้อหาเป็นสากลมากยิ่งขึ้น เพื่อให้บทบัญญัติดังกล่าว เป็นกฎหมายหลักในการปราบปรามองค์กรอาชญากรรม และสามารถบังคับใช้กับพระราชบัญญัติที่มีโทษทางอาญาอื่นๆ เป็นมาตรการเสริมควบคู่กันไป อันจะทำให้การบังคับใช้กฎหมายเพื่อปราบปรามดำเนินคดีกับองค์กรอาชญากรรมเกิดประสิทธิภาพ en
dc.description.abstractalternative Problems concerning organized crime are among crucial problems facing Thailand and the world community. Nations sought various legal measures to solve and to eradicate organized crime. Thailand, in particular, adopted penal provisions pertaining to the offenses of Criminal Association and Illegal Secret Society in order to maintain public peace and prevent law infringement occurred by an organization whose proceedings are secret. These early twentieth century provisions could not possibly deal with modern and complex operation of organized crime of the present day. Thailand, therefore, adopted modern legal measures which hopefully will do away with organized crime. In the past decade, new measures have been taken from both international agreements and international laws. Notwithstanding the adoption of modern measures, the problems still persist. This thesis finds that the revised laws lack of uniformity thereby they are inefficient and difficult to enforce. At present, the limitation on accessing to the true body of criminal organization has not been improved. This research recommends the improvement of the penal code provisions on secret society and criminal association offences. Revision of the provisions is required to include internationally recognized principles and necessary measures. Hence these penal provisions shall be the main legal body to deal with organized crime. In addition, the state could enforce other acts as auxiliary measures. Ultimately, the more effective prosecution of organized crime shall be achieved. en
dc.format.extent 1575820 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.2112
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject กฎหมายอาญา -- ไทย en
dc.subject ขบวนการอาชญากรรม -- ไทย en
dc.title อิทธิพลระหว่างประเทศที่มีต่อกฎหมายอาญาไทย : ศึกษากรณีองค์กรอาชญากรรม en
dc.title.alternative International influences upon Thai criminal law : a case study of organized crime en
dc.type Thesis es
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline นิติศาสตร์ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Apirat.P@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2009.2112


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record