dc.contributor.author |
พันธวัศ สัมพันธ์พานิช |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม |
|
dc.date.accessioned |
2006-08-12T17:15:40Z |
|
dc.date.available |
2006-08-12T17:15:40Z |
|
dc.date.issued |
2543 |
|
dc.identifier.isbn |
9741313969 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1729 |
|
dc.description |
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช -- สังคมพืชที่สำคัญในสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช -- ความหมายและความสำคัญต่างๆ เกี่ยวกับความหลากหลายทางชีวภาพ -- คุณค่าของความหลากหลายทางชีวภาพ -- วิกฤตตความหลากหลายทางชีวภาพ -- การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ -- สาเหตุการสูญเสียสรรพชีวิต -- ปัจจัยที่ทำให้ความหลากหลายทางชีวภาพลดลง -- ปัญหาและผลกระทบต่อความหลากหลายทางชีวภาพ -- อนุสัญญาหลักที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ -- การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพกับแผนปฏิบัติการวาระที่ 21 -- กลยุทธ์เซวิลสำหรับพื้นที่สงวนชีวมณฑลในศตวรรษที่ 21 -- กลยุทธ์ด้านความหลากหลายทางชีวภาพ -- การวัดความหลากหลายหรือความแผกผันของชนิดภายในสังคมพืช -- งานวิจัยและการศึกษาที่เกี่ยวขข้องกับความหลากหลายทางชีวภาพ |
en |
dc.description.abstract |
โครงการสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพของสังคมพืช บริเวณสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา ได้ทำการศึกษารายละเอียดของความหลากหลายทางชีวภาพของสังคมพืชในป่าดิบแล้งและป่าเต็งรัง ด้วยข้อมูลทุติยภูมิ เช่น รายงานการวิจัยอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และการสำรวจ การรวบรวม และเก็บข้อมูล เพื่อนำมาซึ่งการวิเคราะห์ดรรชนีความหลากหลาย ทางสถิติด้วยระบบคอมพิวเตอร์ และเปรียบเทียบข้อมูลกับพื้นที่ศึกษาอื่นที่มีความสำคัญ และ/หรือพื้นที่คุ้มครอบอื่นๆ การศึกษาครั้งนี้ พบว่า สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช แหล่งสงวนชีวมณฑล ประกอบด้วย ความหลากหลายทางชีวภาพควรที่จะได้รับการอนุรักษ์ ตั้งอยู่ในเขตอำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา มีเนื้อที่ประมาณ 80 ตารางกิโลเมตร โดยมีสภาพป่าธรรมชาติที่มีลักษณะเด่นและคงอยู่ในสภาพดีและสมบูรณ์ ซึ่งผลของการศึกษาพื้นที่ป่าดิบแล้งมีความหนาแน่นประมาณ 744 ต้นต่อเฮกแตร์ มีชนิดพันธุ์ไม้ 136 ชนิด โดยพบตะเคียนหิน มีความหนาแน่นมากที่สุด และพบกระเบากลักมีความถี่สูงหรือมีการกระจายตัวโดยทั่วพื้นที่ และไทร มีความเด่นสูง และหากพิจารณาค่าดรรชนีความสำคัญของไม้ในป่าดิบแล้ง พบว่า กระเบากลัก กัดลิ้น และตะเคียนหิน เป็นพันธุ์ไม้ที่มีความสำคัญที่สุดที่จะทำให้ระบบนิเวศขอป่าดิบแล้งดีขึ้น หรือกล่าวได้ว่าเป็นพันธุ์ไม้ที่เด่นและมีความสำคัญมาก สำหรับพื้นที่ป่าเต็งรังมีความหนาแน่น 563 ต้นต่อเฮกแตร์ มีจำนวนชนิดพันธุ์ไม้ 83 ชนิด โดยพบว่า เต็ง และรัง มีความหนาแน่นสูงสุด ส่วนประดู่มีความถี่สูงที่สุด และต้นสองสลึง มีความเด่นในพื้นที่ป่าเต็งรัง ซึ่งแสดงให้เห็นว่าพันธุ์ไม้ที่มีความเด่นและสำคัญในพื้นที่ป่าเต็งรัง ได้แก่ เต็ง รัง และประดู่ สำหรับความหลากหลายทางชีวภาพพิจารณาค่าดรรชนีโดย Shonnon-Weaver index (H) พบว่า ป่าดิบแล้งมีค่าเท่ากับ 5.322 ป่าเต็งรัง มีค่าเท่ากับ 4.321 ซึ่งการศึกษาครั้งนี้ สำรวจพบชนิดพันธุ์ไม้ในป่าดิบแล้ง และป่าเต็งรัง รวมทั้งสิ้น 307 ชนิด โดยจำแนกเป็นพันธุ์ไม้ในป่าดิบแล้ง 66วงศ์ 233 ชนิด ป่าเต็งรัง 53 วงศ์ 124 ชนิด เป็นชนิดพันธุ์ไม้หวงห้ามธรรมดา 97 ชนิด และชนิดพันธุ์ไม้หวงห้ามพิเศษ 2 ชนิด ได้แก่กำจัดต้น และจันทน์ขาว |
en |
dc.description.abstractalternative |
Assessment on Biodiversity Surveys of Plant Community at Sakaerat Environmental Station, Nakhon Ratchasima. The study was emphasized details recording of biodiversity in Dry evergreen forest and Dry dipterocarp forest areas. The secondary data collection, surveyed and recorded for biodiversity analysis by statistic and computer system. The resulted to data comparative in importance areas. The results showed that the existing Sakaerat Environmental Station is Biosphere Reserves included biodiversity of conservation. It has 80 sq.km. and had natural forest. The results show that the Dry evergreen forest with the density of 744 trees/hectare, totally 136 species by Hopea ferrea were relative density, Hydnocarpus ilicifolius were relative frequency and Ficus sp. Were relative dominance with I.V.I., followed by Hydnocarpus ilicifolius and Walsura trichostemon. For the Dry dipterocarp forest with the density of 563 trees/hectare, totally 83 species by Shorea obtuse and Shorea siamensis were relative density, Pterocarpus macrocarpus were relative frequency and Lophopetalum duperreanum were relative dominance with I.V.I., followed by Shorea obtuse, Shorea siamensis and Pterocarpus macrocarpus and so on. The Shonnon-Weaver index (H) in Dry evergreen forest was 5.322 and Dry dipterocarp forest was 4.231. This study was totally 307 species in Dry evergreen forest 66 family 233 species and Dry dipterocarp forest 53 family 124 species and reserved species 97 species and special reserved species 2 species followed by Zanthoxylum limonella and Tarenna hoaensis. |
en |
dc.format.extent |
23877533 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
สถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช |
en |
dc.subject |
ความหลากหลายทางชีวภาพ |
en |
dc.subject |
พื้นที่สงวนชีวมณฑล |
en |
dc.subject |
การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ |
en |
dc.subject |
สังคมพืช |
en |
dc.title |
การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพของสังคมพืช บริเวณสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช จังหวัดนครราชสีมา : รายงานผลการวิจัย |
en |
dc.type |
Technical Report |
en |