DSpace Repository

การป้องกันมลภาวะของแหล่งน้ำในเขตชุมชนของอำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

Show simple item record

dc.contributor.author ธเรศ ศรีสถิตย์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
dc.coverage.spatial ไทย (ภาคกลาง)
dc.coverage.spatial สระบุรี
dc.date.accessioned 2006-08-13T07:43:59Z
dc.date.available 2006-08-13T07:43:59Z
dc.date.issued 2542
dc.identifier.isbn 9743311424
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1737
dc.description.abstract งานวิจัยครั้งนี้ ศึกษาถึงการควบคุมแหล่งกำเนิดน้ำเสียและการคาดการณ์ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตของการพัฒนาเมืองของเทศบาลตำบลแก่งคอย ซึ่งมีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะด้านแหล่งที่อยู่อาศัยของแรงงานในภาคอุตสาหกรรมในเขตอำเภอแก่งคอย ทำให้เกิดการผลิตหรือสร้างมลภาวะในรูปของน้ำเสียจำนวนมาก แล้วปล่อยลงสู่แม่น้ำป่าสัก ซึ่งอาจเกิดผลกระทบต่อคุณภาพน้ำได้ ผลการศึกษา บ่งชี้ว่าในอนาคตอีก 20 ปี ข้างหน้า (พ.ศ. 2561) เทศบาลตำบลแก่งคอยจะมีประชากรประมาณ 27,000 คน มีการใช้น้ำประมาณ 7,317 ลบ.เมตร/วัน ซึ่งเป็นน้ำเสียที่ปล่อยลงสู่แม่น้ำป่าสัก โดยปราศจากการบำบัดน้ำเสียก่อน จากการจำลองเหตุการณ์ภาวะแล้งที่สุดที่มีน้ำไหลในแม่น้ำป่าสัก ประมาณ 5 ลูกบาศก์เมตร/วินาที ด้วยความเร็วของน้ำต่ำสุด 0.043 ลูกบาศก์เมตร/วินาที โดยมีน้ำเสียที่ทิ้งในปี พ.ศ. 2561 ประมาณ 5,176 ลูกบาศก์เมตร/วัน ความสกปรกในรูปของ BOD 128 มิลลิกรัม/ลิตร จะทำให้เกิดภาวะวิกฤตในบริเวณท้ายน้ำ ห่างออกไปจากเขตชุมชนประมาณ 6.7 กิโลเมตร รวมในเขตอำเภอเมืองสระบุรี ดังนั้นจึงต้องจัดให้มีน้ำไหลในลำน้ำที่มากขึ้น เพื่อไล่น้ำสกปรกและทำให้เจือจาง รวมทั้งการประสานงานกับเขื่อนป่าสักในการระบายน้ำท้ายน้ำมาช่วยพื้นที่ส่วนล่าง ประมาณ 10-15 ลูกบาศก์เมตร/วินาที ข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษา จะต้องมีการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียชุมชน เทศบาลตำบลแก่งคอย เพื่อบำบัดน้ำเสียก่อนระบายลงสู่แม่น้ำป่าสัก รวมทั้งการรณรงค์ประหยัดน้ำหรือใช้น้ำอย่างคุ้มค่า เพื่อลดปริมาณน้ำเสียที่เกิดขึ้น การเฝ้าระวังคุณภาพน้ำในแม่น้ำป่าสัก และป้องกันการปล่อยน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมลงสู่แม่น้ำเช่นกัน โดยการเฝ้าระวังจากประชาชนในพื้นที่ en
dc.description.abstractalternative The research is concentrated on environmental control of wastewater resources and prediction of their future impacts arisen from rapid development of Keang Khoi Municipality based on the increasing of industrialized areas of Ampheo Keang Khoi in particular which leading to a large amount of municipal wastewater discharged into Pha Sak River as well as negative impact on its water quality. The result can be concluded in the following paragraph. In the year 2018, Keang Khoi Municipality will have a population of 27,000 habitants with approximately 7,317 cubic meters of wastewater per day. Simulating model, Streeter and Phelps equations, indicates that if the flow rate of the river is about 5 cubic meters per second and the minimum velocity, of 0.043 meter per second in accordance with the amount of 5,176 cubic meters discharged wastewater, BOD 128 mg/l then the critical stage of water quality with 0.05 mg/l DO will occur at the distance of 6.7 kilometers down stream within the region of Ampheo Maung Saraburi.In order to solve this predicting water pollution during dry season is particular, a control of water released from Pha Sak Dam with flow rate of 10-15 cubic meters per second should be applied. en
dc.description.sponsorship ทุนอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน ประจำปีงบประมาณ 2534 en
dc.format.extent 13420296 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject มลพิษทางน้ำ--ไทย--แก่งคอย (สระบุรี) en
dc.subject คุณภาพน้ำ--ไทย--แก่งคอย (สระบุรี) en
dc.title การป้องกันมลภาวะของแหล่งน้ำในเขตชุมชนของอำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ en
dc.title.alternative Environmental pollution prevention for water resources in Keang Khoi, Saraburi en
dc.type Technical Report en
dc.email.author Thares.S@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record