DSpace Repository

การประมาณค่าสหสัมพันธ์ภายในกลุ่มตัวอย่างของตัวแบบเกาซ์เซียนคอพพูลาโพรบิท

Show simple item record

dc.contributor.advisor เสกสรร เกียรติสุไพบูลย์
dc.contributor.author ลดาวัลย์ ศรีดาเดช
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
dc.date.accessioned 2012-03-07T03:13:15Z
dc.date.available 2012-03-07T03:13:15Z
dc.date.issued 2552
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17434
dc.description วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 en
dc.description.abstract งานวิจัยชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประมาณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ภายในกลุ่มตัวอย่างและค่าสัมประสิทธิ์ความถดถอยของตัวแบบเกาซ์เซียนคอพพูลาโพรบิทในกรณีที่มีตัวแปรอิสระ 1 ตัวแปร โดยใช้วิธีการประมาณสัมประสิทธิ์ความถดถอยแบบ 2 ขั้น ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ค่าประมาณสหสัมพันธ์จะมีความเอนเอียงในทิศทางที่เป็นบวก โดยค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกำลังสอง ของค่าประมาณสหสัมพันธ์จะมีค่าลดลงเมื่อจำนวนกลุ่มตัวอย่างการทดลองเพิ่มขึ้น สำหรับค่าประมาณสัมประสิทธิ์ความถดถอยจะมีค่าใกล้เคียงกับค่าพารามิเตอร์จริง โดยค่าเฉลี่ยความคลาดเคลื่อนกำลังสอง ของค่าประมาณสัมประสิทธิ์ความถดถอยจะมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อข้อมูลมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ภายในกลุ่มตัวอย่างเพิ่มขึ้นและจะมีค่าลดลงเมื่อจำนวนกลุ่มตัวอย่างการทดลองเพิ่มขึ้น นอกจากนี้เมื่อเปรียบเทียบผลของการประมาณค่าประมาณสัมประสิทธิ์ความถดถอยระหว่างตัวแบบเกาซ์เซียนคอพพูลาโพรบิทกับตัวแบบโพรบิท พบว่า ตัวแบบเกาซ์เซียนคอพพูลาโพรบิทจะให้ค่าประมาณสัมประสิทธิ์ความถดถอยที่ดีกว่าตัวแบบโพรบิทเฉพาะบางกรณีศึกษา en
dc.description.abstractalternative The objective of this study is to estimate the correlation coefficient and the regression coefficients of the gaussian copula probit model, in case of one independent variable by two-step regression method. The results of this research are as follows: The correlation coefficient estimator is positively biased, its mean squared error decreases when the sample group size increases. The regression coefficient estimators of the gaussian copula probit model approximates to the parameter value well, and its mean squared error varies directly to the correlation coefficient and inversely to sample group size. Moreover, when comparing the estimation of regression coefficients of the gaussian copula probit and the probit model, the results show that gaussian copula probit model generates better results in some cases en
dc.format.extent 1736925 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1306
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject สหสัมพันธ์ (สถิติ) en
dc.subject การวิเคราะห์การถดถอย en
dc.title การประมาณค่าสหสัมพันธ์ภายในกลุ่มตัวอย่างของตัวแบบเกาซ์เซียนคอพพูลาโพรบิท en
dc.title.alternative Estimation of the correlation within a sample group in a Gaussian copula probit model en
dc.type Thesis es
dc.degree.name สถิติศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline สถิติ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor fcomskp@acc.chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2009.1306


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record