DSpace Repository

การบำบัดน้ำเสียที่มีฟีนอลและไพริดีนโดยออกซิเดชันเชิงเร่งปฏิกิริยาในน้ำภาวะเหนือวิกฤตในเครื่องปฏิกรณ์ขนาดกะทัดรัด

Show simple item record

dc.contributor.advisor คุณากร ภู่จินดา
dc.contributor.advisor สมเกียรติ งามประเสริฐสิทธิ์
dc.contributor.author วิบูลย์ ศิริมาวิเศษ
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
dc.date.accessioned 2012-03-09T10:55:32Z
dc.date.available 2012-03-09T10:55:32Z
dc.date.issued 2553
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17504
dc.description วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 en
dc.description.abstract น้ำเสียจากอุตสาหกรรมและห้องปฏิบัติการมักประกอบด้วยสารเคมีหลายชนิด ออกซิเดชันเชิงเร่งปฏิกิริยาในน้ำภาวะเหนือวิกฤตสามารถทำให้ของเสียอินทรีย์หลายชนิดสลายตัวได้อย่างรวดเร็ว งานวิจัยนี้จึงใช้เครื่องปฏิกรณ์ขนาดกะทัดรัดสำหรับการบำบัดที่แหล่งกำเนิดน้ำเสีย ด้วยออกซิเดชันเชิงเร่งปฏิกิริยาในน้ำภาวะเหนือวิกฤต ซึ่งใช้แมงกานีสไดออกไซด์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา และไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์เป็นตัวออกซิไดส์ ทั้งนี้เพื่อศึกษาจลนพลศาสตร์และปฏิสัมพันธ์ระหว่างฟีนอลและไพริดีนในน้ำเสียสังเคราะห์ ที่มีฟีนอล ไพริดีน และของผสมระหว่างฟีนอลและไพริดีน โดยใช้ความดันคงที่เท่ากับ 25 เมกะพาสคัลที่อุณหภูมิ 380-410 องศาเซลเซียส และร้อยละไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์มากเกินพอเท่ากับ 100 ความเข้มข้นของสารละลายฟีนอลและไพริดีนเริ่มต้นเท่ากับ 0.046 และ 0.049 โมลต่อลิตร เวลาในการทำปฏิกิริยาระหว่าง 2-10 วินาที พบว่าร้อยละการเปลี่ยนของปริมาณคาร์บอน อินทรีย์ทั้งหมดของฟีนอล ไพริดีน และของผสมฟีนอล/ไพริดีนมีค่าสูงถึงร้อยละ 99, 76 และ 92 ตามลำดับ และเมื่อพิจารณาผลของปริมาณคาร์บอนอินทรีย์ทั้งหมดและความเข้มข้นของออกซิเจนต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยา พบว่าได้ค่าพลังงานการกระตุ้น (Ea) = 65.54 kJ/mol ค่า pre-exponential factor (A) = 6.55 x 104 L0.59mol-0.59s-1 และอันดับการเกิดปฏิกิริยาของ ปริมาณคาร์บอนอินทรีย์ทั้งหมด (a) และความเข้มข้นออกซิเจน (b) เท่ากับ 1.29 และ 0.3 ตามลำดับ ในกรณีของฟีนอล Ea = 79.85 kJ/mol, A = 1.06 x 104 L1.17mol-1.17s-1 และ a = 1.77, b = 0.4 ในกรณีของไพริดีน และ Ea = 20.8 kJ/mol, A = 9.35 x 10-1 L1.3mol-1.3s-1 และ a = 1.8, b = 0.5 ในกรณีของของผสมฟีนอล/ไพริดีน en
dc.description.abstractalternative Supercritical water oxidation (SCWO) can treat various types of hazardous waste. The research uses a compact-sized catalytic reactor for wastewater treatment at origin by SCWO. Manganese dioxide, 80-100 mesh size, was used as the catalyst. The experiments were carried out at the pressure of 25 MPa and the temperature range of 380-410℃. The initial concentrations of phenol and pyridine were 0.046 and 0.049 mol/L and 100% excess of hydrogen peroxide (H2O2) was used as the initial oxidant. The contact time was varied between 2-10 s. By considering the dependence of reaction rate on TOC and oxigen concentration, global rate expression was determined with an activation energy (Ea) of 65.54 kJ/mol; the pre-exponential factor (A) of 6.55 x 104 L0.59mol-0.59s-1 and the reaction orders for TOC (a) and oxigen (b) concentration were 1.29 and 0.3 for phenol, Ea = 79.85 kJ/mol; A = 1.06 x 104 L1.17mol-1.17s-1 and a = 1.77; b = 0.4 for pyridine and Ea = 20.8 kJ/mol; A = 9.35 x 10-1 L1.3mol-1.3s-1 and a = 1.8; b = 0.5 for mixture of phenol/pyridine. The results showed that it was possible to apply catalytic SCWO for phenol, pyridine and mixture of phenol/pyridine treatment, with more than 99%, 76% and 92% TOC conversion, respectively. en
dc.format.extent 3406733 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.146
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject น้ำเสีย -- การบำบัด -- ออกซิเดชัน
dc.subject การเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์
dc.subject ของไหลวิกฤตยิ่งยวด
dc.subject ฟีนอล
dc.subject ไพริดีน
dc.subject Sewage -- Purification -- Oxidation
dc.subject Heterogeneous catalysis
dc.subject Supercritical fluids
dc.subject Pyridine
dc.subject Phenol
dc.title การบำบัดน้ำเสียที่มีฟีนอลและไพริดีนโดยออกซิเดชันเชิงเร่งปฏิกิริยาในน้ำภาวะเหนือวิกฤตในเครื่องปฏิกรณ์ขนาดกะทัดรัด en
dc.title.alternative Treatment of wastewater containing phenol and pyridine by catalytic supercritical water oxidation in compact-sized reactor en
dc.type Thesis es
dc.degree.name วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline เคมีเทคนิค es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Kunakorn.P@Chula.ac.th
dc.email.advisor somkiat@sc.chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2010.146


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record