DSpace Repository

Techonology transfer in Japanese electronics companies in Thailand

Show simple item record

dc.contributor.advisor Samart Chiasakul
dc.contributor.advisor Waranya Patarasuk
dc.contributor.author Saito, Shunsuke
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Economics
dc.date.accessioned 2012-03-17T02:47:29Z
dc.date.available 2012-03-17T02:47:29Z
dc.date.issued 2009
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18050
dc.description Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2009 en
dc.description.abstract The electronics industry in Thailand is the leading sector in the Thai economy where the Japanese investments are made significantly paralleling to the automobile industry. In order to achieve the sustainable development, the Thai government has introduced several policies to promote technology transfer. Despite such efforts, much of what they get relates to adaption and technical support rather than innovation. The study aims to improve understanding about the actual practice of technology transfer at intra-firm level in the Japanese electronics companies in Thailand and to provide some policy implications for the Thai agencies concerned for the better application of the technology transfer in the future. The study adopted the measurement of technological capability, which was used in the previous studies, and summarized the characteristics of the technology transfer in the Japanese electronics companies in Thailand by collecting primary data from eleven companies and by interviewing some parent companies to support the data obtained from questionnaires. The results showed that the level of technology transfer of the Japanese electronics companies in Thailand remains at the lower level because of the nature of the products and human resources. The policy implications arising from the study are to have more R&D activities by providing more incentives, and investment in human resource development in the middle and long term en
dc.description.abstractalternative อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ถือได้ว่าเป็นอุตสาหกรรมหลักอันหนึ่งในประเทศไทยซึ่งมีการลงทุนจากญี่ปุ่นจำนวนมากเช่นเดียวกับอุตสาหกรรมยานยนต์ และเพื่อให้การพัฒนามีความยั่งยืน รัฐบาลไทยได้มีการใช้นโยบายหลายอย่างในการส่งเสริมให้เกิดการถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึ่งแม้นว่ารัฐบาลได้พยายามดำเนินการดังกล่าวแล้ว แต่ผลที่ได้เป็นเพียงการการดัดแปลงเทคโนโลยีที่ใช้และความช่วยเหลือด้านเทคนิคมากกว่าการทำนวัตกรรม การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมความเข้าใจเกี่ยวกับการถ่ายทอดเทคโนโลยีภายในกิจการที่มีการลงทุนจากญี่ปุ่นให้ดีขึ้นและเสนอแนะนัยเชิงนโยบายสำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการนำเรื่องการถ่ายทอดเทคโนโลยีไปใช้ในอนาคต การวิจัยนี้ได้นำวิธีการวัดความสามารถทางเทคโนโลยี ซึ่งได้มีงานศึกษาที่ทำมาก่อนหน้านี้มาใช้ และสรุปคุณลักษณะต่างๆ ของการถ่ายทอดเทคโนโลยีในกิจการอีเล็กทรอนิกส์ของญี่ปุ่นในประเทศไทยโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิจากกิจการอีเล็กทรอนิกส์ของญี่ปุ่นในประเทศไทย จำนวน 11 แห่ง พร้อมทั้งการสัมภาษณ์บริษัทแม่ในญี่ปุ่นเพิ่มเติม เพื่อสนับสนุนข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถาม ผลการศึกษาพบว่า การถ่ายทอดเทคโนโลยีในกิจการอิเล็กทรอนิกส์ของญี่ปุ่นในประเทศไทยยังอยู่ในระดับต่ำ เนื่องจากลักษณะของสินค้าที่ผลิตและทรัพยากรมนุษย์ (บุคลากร) ที่มีอยู่ ดังนั้นจึงควรมีการสนับสนุนให้มีกิจกรรมด้านการวิจัยและพัฒนามากขึ้น โดยการให้แรงจูงใจมากกว่าที่เป็นอยู่ และในขณะเดียวกันก็ควรมีการลงทุนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มากขึ้นทั้งในระยะกลางและระยะยาว en
dc.format.extent 1415349 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso en es
dc.publisher Chulalongkorn University en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1842
dc.rights Chulalongkorn University en
dc.subject Electronic industries -- Technology transfer en
dc.subject Technology transfer en
dc.title Techonology transfer in Japanese electronics companies in Thailand en
dc.title.alternative การถ่ายทอดเทคโนโลยีในกิจการอิเล็กทรอนิกส์ของญี่ปุ่นในประเทศไทย en
dc.type Thesis es
dc.degree.name Master of Arts es
dc.degree.level Master's Degree es
dc.degree.discipline Business and Managerial Economics es
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en
dc.email.advisor Samart.C@Chula.ac.th
dc.email.advisor Waranya.p@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2009.1842


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record