dc.contributor.author |
พัชนี เชยจรรยา |
|
dc.contributor.author |
อุบลวรรณ ปิติพัฒนะโฆษิต |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาการประชาสัมพันธ์ |
|
dc.date.accessioned |
2006-08-15T12:37:41Z |
|
dc.date.available |
2006-08-15T12:37:41Z |
|
dc.date.issued |
2537 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1807 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยเรื่อง สถานภาพและความก้าวหน้าของผู้หญิงในงานประชาสัมพันธ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสถานภาพและความรับผิดชอบของผู้หญิงในงานประชาสัมพันธ์ ศึกษามูลเหตุของความก้าวหน้าในงานอาชีพประชาสัมพันธ์ และเพื่อเปรียบเทียบสถานภาพ ความรับผิดชอบและความก้าวหน้าของผู้หญิงและผู้ชายในงานอาชีพประชาสัมพันธ์ การวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยวิธีการวิจัยเชิงสำรวจ ร่วมกับการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เจาะลึก เป็นการศึกษาความคิดเห็นจากผู้บริหารองค์กรที่ควบคุมดูแลฝ่ายประชาสัมพันธ์ทั้งหน่วยงานของรัฐบาล รัฐวิสาหกิจและบริษัทเอกชนจำนวน 60 คน และสอบถามผู้ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ทั้งจากหน่วยงานของรัฐ/รัฐวิสาหกิจและเอกชน จำนวนทั้งสิ้น 240 คน ผลจากการวิจัยสรุปได้ว่า 1. ในด้านสถานภาพของงานประชาสัมพันธ์นั้น ส่วนใหญ่ยังไม่เป็นหน่วยงานอิสระที่ขึ้นตรงต่อผู้บริหาร และงานยังคงอยู่ในระดับปฏิบัติการ 2. ผู้ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ส่วนใหญ่เป็นผู้หญิงมากกว่าผู้ชายประมาณ 3 เท่า 3. งานที่นักประชาสัมพันธ์ปฏิบัติส่วนใหญ่เป็นงานในระดับปฏิบัติการ 4. ผ๔หญิงและผู้ชายที่ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ไม่มีความแตกต่างกันในด้านความสามารถ ความก้าวหน้า หรือความรับผิดชอบในหน้าที่การงาน และมีการยอมรับว่าผู้หญิงเหมาะสมกับอาชีพประชาสัมพันธ์มากกว่าผู้ชายโดยเฉพาะในด้านการสื่อสารกับบุคคลต่าง ๆ 5. ความก้าวหน้าในอาชีพนักประชาสัมพันธ์ขึ้นอยู่กับ ความรู้ ความสามารถ และผู้บริหารของหน่วยงานนั้นว่าจะเห็นความสำคัญของงานประชาสัมพันธ์มากน้อยเพียงใด รวมทั้งนโยบายของหน่วยงานใหญ่ด้วย 6. ผู้ปฏิบัติงานในภาคเอกชนมีความพึงพอใจในความก้าวหน้าของการปฏิบัติงานมากกว่าผู้ปฏิบัติงานด้านประชาสัมพันธ์ในภาครัฐบาล |
en |
dc.description.abstractalternative |
The objectives of this research project are 1. To study the status and promotion opportuinity of women on Public Relations work. 2. To study the basic factors for good opprotunity in Public Relations career. 3. To compare the status, responsibility and promotion of men and women in Public Relations (PR.) work. This is a quantitative research emphasizing on depth-interviews from opinions of organizations's executive personal who are in charge of 60 Public Relations department in governmental organizations, Publiuc enterprises, private enterprises and survey the opinion of 240 PR. practitioner from government, public and private enterprises. The result of the study are: 1. For the status, the PR work is still not independent unit to work under the administrator's control. The work is mainly at the action or implementing level. 2. The POR women practitioners are 3 times morethan PR. men practitioners. 3. Most of the PR works this survey are at the action or inplementing level (not executive levels). 4. Men and women are not different in working capability, promotion or responsibility. However, it is accepted that women is better offf in PR work than men especially in communicating with various types of people. 5. The success of PR work depends on PR practitioner's knowledge and capability as well as the policy of higher up organization and low much the executive see the improtance of PR work. |
en |
dc.format.extent |
33970316 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
การประชาสัมพันธ์ |
en |
dc.subject |
สตรี |
en |
dc.subject |
สื่อมวลชนกับสตรี |
en |
dc.title |
สถานภาพและความก้าวหน้าของผู้หญิงในงานประชาสัมพันธ์ : รายงานการวิจัย |
en |
dc.title.alternative |
The status and promotion opportunity of women in public relations work |
en |
dc.type |
Technical Report |
en |
dc.email.author |
Ubolwan.P@chula.ac.th |
|