dc.contributor.advisor |
Sunti Tirapat |
|
dc.contributor.author |
Subhadanai Subhapholsiri |
|
dc.contributor.other |
Chulalongkorn University. Faculty of Commerce and Accountancy |
|
dc.date.accessioned |
2012-03-24T03:22:34Z |
|
dc.date.available |
2012-03-24T03:22:34Z |
|
dc.date.issued |
2009 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18480 |
|
dc.description |
Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2009 |
en |
dc.description.abstract |
This study investigates the effects of political connection and corporate governance level on the performances of the listed firms in SET during 1999-2008. It also proposes the systematic method for matching politically connected firms and classifying them into specific categories, i.e., direct, strongly indirect and weakly indirect connection. This method allows researchers studying on political connection to widen the definition of politically connected firms and be able to easily switch the groups of qualified samples across definitions. The results indicate that the firms connecting with the cabinet members can significantly outperform the markets while the firms connecting with members of the House of Representatives do not. And, when the governance level and the proxy of private information flow are controlled, the outperformance of cabinet connected firms still persists. Moreover, the result from the study points out that the firms having higher corporate governance level have better performance, especially in term of Tobin’s Q ratio. Even though, the firms having higher private information flow do not outperform the firms with lower one.
This research also studies the effect of the coup in 2006 on the stock returns of politically connected firms. The result from the event study suggests that the firms connecting with the overthrown cabinet members received significantly negative effect from the happening of the coup while the firms connecting with representatives from the opposition parties received the positive effect. By using the regression model on buy-and-hold stock returns, the firms direct or strongly indirect connecting with the overthrown cabinet members receive the significantly negative effect, likewise the firms connecting with the politicians assuming power from the coup. |
en |
dc.description.abstractalternative |
วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษาผลกระทบของความสัมพันธ์ทางการเมืองและระดับบรรษัทภิบาล
ต่อผลประกอบการของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ระหว่างปีพ.ศ.2541-
2551 งานวิจัยฉบับนี้ยังได้เสนอวิธีในการระบุบริษัทที่เข้าข่ายว่ามีความสัมพันธ์ทางการเมือง และ
การแบ่งกลุ่มบริษัทดังกล่าวตามลักษณะของความสัมพันธ์อย่างเป็นระบบ วิธีการดังกล่าวจะช่วยให้
การวิจัยความสัมพันธ์ทางการเมืองสามารถที่จะขยายขอบเขตนิยามของบริษัทที่มีความสัมพันธ์ทาง
การเมืองออกไปได้และทำให้สามารถสับเปลี่ยนกลุ่มตัวอย่างที่เข้าข่ายแต่ละนิยามได้อย่างสะดวก
ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า บริษัทที่มีความสัมพันธ์ทางการเมืองกับคณะรัฐมนตรีมีผลประกอบการ
ที่เกินกว่าตลาดอย่างมีนัยสำคัญ อย่างไรก็ดีบริษัทที่มีความสัมพันธ์ทางการเมืองกับมาชิกสภา-
ผู้แทนราษฎรทั้งจากพรรคร่วมรัฐบาลและฝ่ายค้านนั้นไม่ได้รับประโยชน์อย่างมีนัยสำคัญ และเมื่อ
นำปัจจัยด้านบรรษัทภิบาลและตัวแทนของการไหลของข้อมูลที่ไม่ใช่สาธารณะมาเป็นตัวแปร
ควบคุมเพิ่มเติมแล้ว พบว่าบริษัทที่มีความสัมพันธ์กับรัฐมนตรีนั้นยังสามารถที่จะได้รับผล
ประกอบการที่สูงกว่าตลาดได้อยู่ดี นอกจากนี้งานวิจัยยังพบว่าบริษัทที่มีระดับบรรษัทภิบาลที่ดีกว่า
มีผลประกอบการที่สูงกว่าด้วย อย่างไรก็ดีเมื่ออัตราการไหลของข้อมูลที่ไม่ใช่สาธารณะถูกนำเข้ามา
ควบคุมแล้ว ผลที่ได้บ่งชี้ปัจจัยดังกล่าวมิได้ส่งผลให้บริษัทมีผลประกอบการที่ดีกว่าแต่อย่างใด
งานวิจัยยังได้นำข้อมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางการเมือง ไปเชื่อมโยงกับเเหตุการณ์
รัฐประหารเมื่อ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 เพื่อศึกษาผลกระทบของการเกิดขึ้นของการรัฐประหารต่อ
ผลตอบแทนในหุ้นของบริษัทที่มีความสัมพันธ์ทางการเมือง ผลศึกษาจากการศึกษาเหตุการณ์
พบว่า ผลตอบแทนของบริษัทที่มีความสัมพันธ์กับคณะรัฐมนตรีที่ถูกรัฐประหารให้ลงจากอำนาจ
นั้นได้รับผลกระทบเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งตรงข้ามกับผลตอบแทนของบริษัทที่มีสายสัมพันธ์
ทางการเมืองกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรฝ่ายค้านที่ได้รับผลกระทบเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญ ส่วน
ผลการศึกษาโดยใช้สมการถดถอยพบว่า บริษัทที่มีสายสัมพันธ์โดยตรงหรือโดยอ้อมกับรัฐมนตรีที่
ถูกโค่นลงจากตำแหน่งโดยการรัฐประหารนั้นได้รับผลกระทบเชิงลบอย่างมีนัยสำคัญ เช่นเดียวกับ
บริษัทที่มีความสัมพันธ์โดยตรงและโดยตรงหรือโดยอ้อมกับนักการเมืองที่ได้รับตำแหน่งหน้าที่
จากการรัฐประหาร |
en |
dc.format.extent |
6596430 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
en |
es |
dc.publisher |
Chulalongkorn University |
en |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1863 |
|
dc.rights |
Chulalongkorn University |
en |
dc.subject |
Corporate governance |
en |
dc.subject |
Good corporate governance |
|
dc.subject |
Corporations -- Political aspects |
|
dc.subject |
การกำกับดูแลกิจการ |
|
dc.subject |
บรรษัทภิบาล |
|
dc.subject |
บริษัท -- แง่การเมือง |
|
dc.title |
Political connection, corporate governance and firms' performance |
en |
dc.title.alternative |
ความสัมพันธ์ทางการเมือง บรรษัทภิบาลและผลประกอบการของบริษัท |
en |
dc.type |
Thesis |
es |
dc.degree.name |
Master of Science |
es |
dc.degree.level |
Master's Degree |
es |
dc.degree.discipline |
Finance |
es |
dc.degree.grantor |
Chulalongkorn University |
en |
dc.email.advisor |
Sunti.T@Chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2009.1863 |
|