DSpace Repository

Adherence assessment and factors affecting adherence to art among HIV-infected/AIDS at Taksin Hospital

Show simple item record

dc.contributor.advisor Vithaya Kulsomboon
dc.contributor.advisor Usawadee Maleewong
dc.contributor.author Tidarat Sujipittham
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Pharmaceutical Sciences
dc.date.accessioned 2012-05-02T15:03:22Z
dc.date.available 2012-05-02T15:03:22Z
dc.date.issued 2010
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19404
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2010 en
dc.description.abstract This study was an analytical, cross-sectional study. The objectives of this study were to (1) assess the adherence to ARV medication among HIV/AIDS patients at Taksin Hospital by using multiple adherence measurement. (2) Analyze the relationship between the factors affecting patient adherence to ARV medication. In data collection was conducted by using interviewing and assessment tools during March to April 2010 in HIV/AIDS outpatient clinic at Taksin Hospital. The samples were 200 HIV/AIDS patients who take antiretroviral medicines. The results showed that majority of the samples were male (53%), the average of age was 38.20 years-old, were married (43.5%), were completed primary school (35.5%), were employee (58.5%), had an income less than 5,000 baht per month (42%), were in universal health care coverage program (70.5%), contacted infection due to heterosexual transmission (65.5%), took ARV medicine for 3 years, no adverse event from antiretroviral (81.5%), at present the patients took ARV medicines two times/day (70.5%). Using multi-method consisted of self-report, visual analogue scale (VAS), pill identification test (PIT) and pill count in order to assess the adherence of HIV/AIDS patients, the results revealed that majority of patients (70%) had adherence to ARV medication (adherence level more than 95%). The relationship between adherence and the factors affecting patient adherence to ARV medication by using multivariate logistic regression analysis showed that female, self-efficacy and patienthealth care provider relationship had positive relationship with adherence to ARV medicine (p< 0.05). In conclusion, the health care provider should provide the programs to enhance the self-efficacy of the HIV/AIDS patients and also establish the good relationship between patients-providers in order to increase the adherence level to improve the effectiveness of treatment in HIV/AIDS patients. en
dc.description.abstractalternative การวิจัยนี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวางเชิงวิเคราะห์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินความร่วมมือในการใช้ยาต้านไวรัสเอชไอวี ณ โรงพยาบาลตากสิน โดยใช้การประเมินความร่วมมือในการใช้ยาแบบหลายวิธีร่วมกัน (2) เพื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ ต่อความร่วมมือในการใช้ยาต้านไวรัสเอชไอวี เก็บข้อมูลในช่วงเดือน มีนาคม ปี พ.ศ. 2553 ถึงเดือนเมษายน ปี พ.ศ. 2553 ในกลุ่มผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอดส์ ณ โรงพยาบาลตากสิน ผู้ป่วยเข้าร่วมการวิจัย จำนวน 200 คน ผู้วิจัยเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ผู้ป่วย และประเมินความร่วมมือในการใช้ยา ผลการวิจัยพบว่า ผู้ป่วยเป็นเพศชาย 53% อายุเฉลี่ยที่ 38.20 ปี มีสถานภาพสมรสแล้ว 43.5% มีระดับการศึกษาสูงสุดในระดับประถมศึกษา 35.5% ประกอบอาชีพรับจ้าง/ลูกจ้าง 58.5% มีรายได้น้อยกว่า 5,000 บาทต่อเดือน 42% ใช้สิทธิการรักษาประกันสุขภาพถ้วนหน้า 70.5% ส่วนใหญ่ได้รับการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์จากเพศตรงข้าม 65.5% ระยะเวลาเฉลี่ยในการใช้ยาต้านไวรัสตั้งแต่เริ่มรักษาถึงปัจจุบัน ประมาณ 3 ปี ส่วนใหญ่พบว่า ไม่เกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา 81.5% รับประทานยาต้านไวรัสเอชไอวี วันละสองเวลา 70.5% ในการวัดความร่วมมือในการใช้ยาโดยใช้หลายวิธีการวัดอันประกอบด้วย 1. self-report 2. visual analogue scale (VAS) 3. pill identification test (PIT) และ 4. pill count พบว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่มีความร่วมมือในการใช้ยาต้านไวรัสเอชไอวี (ความร่วมมือในการใช้ยา มากกว่าหรือเท่ากับ 95%) คิดเป็น 70% และจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความร่วมมือในการใช้ยากับปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อความร่วมมือในการรับประทานยาต้านไวรัสเอชไอวี โดยใช้สถิติถดถอยแบบโลจิสติกส์ พบว่า เพศหญิง ความมั่นใจในการรับประทานยา และความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยกับบุคลากรทางการแพทย์นั้น มีความสัมพันธ์ต่อความร่วมมือในการใช้ยาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุปว่าจากการใช้หลายเครื่องมือในการวัดร่วมกัน พบว่า ผู้ป่วยส่วนใหญ่มีความร่วมมือในการใช้ยา และพบว่าเพศหญิง ความมั่นใจในการรับประทานยา และความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างบุคคลากรทางการแพทย์กับผู้ป่วยนั้น จะมีส่วนเสริมสร้างความร่วมมือในการใช้ยาต้านไวรัสเอชไอวีที่เพิ่มขึ้น ดังนั้น บุคลากรทางการแพทย์ควรมีกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีความมั่นใจในการใช้ยาเพิ่มขึ้น และสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยมีความร่วมมือในการใช้ยา อันจะส่งผลดีต่อประสิทธิภาพในการรักษาต่อไป en
dc.format.extent 1605795 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso en es
dc.publisher Chulalongkorn University en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.6
dc.rights Chulalongkorn University en
dc.subject AIDS ‪(Disease)‬ -- Patients
dc.subject HIV-positive persons
dc.subject Antiviral agents
dc.subject Patients -- Drug use
dc.subject โรคเอดส์ -- ผู้ป่วย
dc.subject ผู้ติดเชื้อเอชไอวี
dc.subject สารต้านไวรัส
dc.subject ผู้ป่วย -- การใช้ยา
dc.title Adherence assessment and factors affecting adherence to art among HIV-infected/AIDS at Taksin Hospital en
dc.title.alternative การวัดความร่วมมือและปัจจัยที่มีผลต่อความร่วมมือในการใช้ยาต้านไวรัสเอดส์ ในผู้ป่วยที่ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ ณ โรงพยาบาลตากสิน en
dc.type Thesis es
dc.degree.name Master of Science es
dc.degree.level Master's Degree es
dc.degree.discipline Social and Administrative Pharmacy es
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en
dc.email.advisor Vithaya.K@Chula.ac.th
dc.email.advisor No information provided
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2010.6


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

  • Pharm - Theses [1269]
    วิทยานิพนธ์ คณะเภสัชศาสตร์

Show simple item record