dc.contributor.advisor |
กุลลดา เกษบุญชู-มี้ด |
|
dc.contributor.author |
นรุตม์ เจริญศรี |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะรัฐศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
ญี่ปุ่น |
|
dc.coverage.spatial |
สหรัฐอเมริกา |
|
dc.coverage.spatial |
ญี่ปุ่น |
|
dc.coverage.spatial |
สหรัฐอเมริกา |
|
dc.coverage.spatial |
ลุ่มแม่น้ำโขง |
|
dc.date.accessioned |
2012-05-20T06:18:56Z |
|
dc.date.available |
2012-05-20T06:18:56Z |
|
dc.date.issued |
2553 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19751 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ร.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 |
en |
dc.description.abstract |
ศึกษาบทบาทของสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นที่อยู่เบื้องหลังการก่อตั้ง ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย (Asian Development Bank - ADB) และการผลักดันให้เกิดการก่อตั้งโครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง (GMS) โดยตั้งคำถามหลักว่า รัฐบาลของญี่ปุ่นใช้ ADB เป็นเครื่องมือในการแสวงหาผลประโยชน์ในลุ่มแม่น้ำโขง ผ่านโครงการ GMS อย่างไร เพราะสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ให้งบประมาณอุดหนุน ADB มากที่สุด จากการศึกษาพบว่า การก่อตั้ง ADB และอาเซียนนั้น เป็นความพยายามในการสร้างระบบตลาดที่มีประสิทธิภาพให้เกิดขึ้นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อให้เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและเป็นตลาดให้กับสินค้าของญี่ปุ่น อย่างไรก็ตามบรรยากาศทางการเมืองในอินโดจีนส่งผลให้ความร่วมมือยังไม่ครอบคลุม จนกระทั่งการสิ้นสุดของปัญหาในอินโดจีน ก็ได้ก่อให้เกิดโอกาสทางธุรกิจมากขึ้น โครงการ GMS ที่เกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1992 จึงเป็นความพยายามในการขยายตลาดจากอาเซียนเก่ามาสู่อาเซียนใหม่ โครงการ GMS ได้ให้ความสำคัญของการก่อสร้างระบบสาธารณูปโภคพื้นฐานในลุ่มแม่น้ำโขงมาโดยตลอด ทั้งการสร้างถนน พลังงานไฟฟ้า และการติดต่อสื่อสาร เพราะสิ่งเหล่านี้เป็นข้อเรียกร้องจากภาคเอกชนของญี่ปุ่นในลุ่มแม่น้ำโขง โครงการ GMS จึงเป็นโครงการที่มุ่งตอบสนองผลประโยชน์ของบริษัทเอกชนของญี่ปุ่นในลุ่มแม่น้ำโขง |
en |
dc.description.abstractalternative |
To study the roles of the United States and Japan towards the creation of the establishment of the Asian Development Bank (ADB), and the forces that drive the establishment of the Greater Mekong Subregion Economic Cooperation (the GMS Program), financed by the ADB. The main question of this thesis is why and how Japan uses the GMS Program to promote Japanese economic interest. The conclusion of this thesis is that, the creation of the ADB and ASEAN were to support the establishment of viable economies in the subregion. Besides, the Mekong region has been a terrain for raw materials and market for Japanese economy. However, the political milieus in Indo-China before 1991 are not suitable for regional cooperation. But after the Paris Accord that brought regional security in the subregion and the appropriate economic environment, the GMS Program was created in order to merge market of ASEAN-4 and new ASEAN members together. The GMS Program, in conclusion, has been supporting the establishment of regional infrastructure in the subregion, since the infrastructure is one of the main requests asking from Japanese private sectors locating in the subregion. |
en |
dc.format.extent |
1850227 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.384 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย |
en |
dc.subject |
โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง |
en |
dc.subject |
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ -- ญี่ปุ่น |
en |
dc.subject |
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ -- สหรัฐอเมริกา |
en |
dc.subject |
ภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง |
en |
dc.subject |
Asian Development Bank |
|
dc.subject |
Greater Mekong Subregion Economic Cooperation Program |
|
dc.subject |
Economic cooperation -- Japan |
|
dc.subject |
Economic cooperation -- United States |
|
dc.subject |
Mekong River Region |
|
dc.title |
บทบาทของธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชียในโครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง |
en |
dc.title.alternative |
Asian Development Bank's role in the Greater Mekong Subregion Economic Cooperation Program |
en |
dc.type |
Thesis |
es |
dc.degree.name |
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต |
es |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
es |
dc.degree.discipline |
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ |
es |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.email.advisor |
Kullada.K@chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2010.384 |
|