DSpace Repository

แนวทางในการควบคุมบริษทเอกชนที่ให้บริการทางด้านการทหารในกฎหมายระหว่างประเทศ

Show simple item record

dc.contributor.advisor วิทิต มันตาภรณ์
dc.contributor.author ณัฐมณฑ์ ดีแสวง
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์
dc.date.accessioned 2012-05-20T08:06:41Z
dc.date.available 2012-05-20T08:06:41Z
dc.date.issued 2552
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19774
dc.description วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 en
dc.description.abstract วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาปัญหาในทางกฎหมายระหว่างประเทศที่เกิดจากการใช้บริการบริษัทเอกชนที่ให้บริการทางด้านการทหาร และหาแนวทางแก้ไขปัญหาดังกล่าวโดยพิจารณาจากกฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายภายในของรัฐ และกฎเกณฑ์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อหาแนวทางการควบคุมบริษัทเอกชนที่ให้บริการทางด้านการทหารที่มีประสิทธิภาพและเหมาะสมต่อไป จากการศึกษาพบว่า แม้ลักษณะงานของบริษัทเอกชนที่ให้บริการทางด้านการทหารอาจส่งผลกระทบต่อความมั่นคงของรัฐ หรือต่อชีวิต ร่างกายของประชาชนในพื้นที่ให้บริการ แต่กฎหมายที่ควบคุมบริษัทเอกชนที่ให้บริการทางด้านการทหาร โดยตรงกลับมีอยู่น้อยมาก และข้อขัดข้องต่าง ๆ ในการดำเนินคดีต่อผู้กระทำความผิดสิทธิมนุษยชน อาจทำให้บริษัทฯ และบุคลากรของบริษัทฯ ที่ละเมิดสิทธิมนุษยชนไม่ได้รับโทษตามกฎหมาย ดังนั้น เพื่อสร้างความชัดเจนเกี่ยวกับบริษัทเอกชนที่ให้บริการทางด้านการทหาร ลดปัญหาอันเกิดจากการใช้บริการบริษัทฯ และส่งเสริมการนำตัวผู้กระทำความผิดกฎหมายระหว่างประเทศมาลงโทษ ผู้เขียนจึงได้เสนอให้มีสนธิสัญญาระหว่างประเทศเพื่อควบคุมบริษัทเอกชนที่ให้บริการทางด้านการทหารเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว en
dc.description.abstractalternative This thesis aims to study the international legal problems that arise from the use of Private Military Companies (PMC) and recommend ways to solve the problems by considering the exist relevant International and Domestic Laws, as well as other regulations. The study has found that despite the fact that the work of Private Military Companies do have a lot of impact on national Security, World Peace and Human Rights, there are few specific laws to govern the issue. Various obstacles facing the administration of justice against those who violate human rights could lead to the impunity of both companies and their employees. Therefore, a new International Convention to regulate the Private Military Companies and multi-level co-operation is needed in order to regulate the companies, minimize the problems, help stabilize world peace and stop impunity. en
dc.format.extent 17176192 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.132
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject ทหารรับจ้าง en
dc.subject กฎหมายระหว่างประเทศ en
dc.subject การทหาร en
dc.title แนวทางในการควบคุมบริษทเอกชนที่ให้บริการทางด้านการทหารในกฎหมายระหว่างประเทศ en
dc.title.alternative Directions for regulating private military companies in international law en
dc.type Thesis es
dc.degree.name นิติศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline นิติศาสตร์ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Vitit.M@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2009.132


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record