dc.contributor.advisor |
ชโยดม สรรพศรี |
|
dc.contributor.author |
ศศิภา เสริมพงษ์พันธ์ |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์ |
|
dc.coverage.spatial |
จีน |
|
dc.date.accessioned |
2012-06-12T14:16:15Z |
|
dc.date.available |
2012-06-12T14:16:15Z |
|
dc.date.issued |
2553 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20264 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 |
en |
dc.description.abstract |
การจัดทำข้อตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีน อาจก่อให้เกิดผลกระทบกับภาคอุตสาหกรรมการผลิตไทยในหลายๆด้าน งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างตลาดสินค้าภายในประเทศไทย จากการดำเนินการข้อตกลงฯดังกล่าว โดยนำแบบจำลองของ Clausing (2001) มาใช้ศึกษาการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการค้าของไทย โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูลในช่วงปี 2003-2008 และนำแบบจำลองของ Levy (1985) มาประยุกต์ใช้ในการศึกษา ปัจจัยกำหนดการเปลี่ยนแปลงอัตราการกระจุกตัว นอกจากนี้ผู้วิจัยยังทำการสัมภาษณ์ตัวแทนสมาคมผู้ประกอบการผลิตในอุตสาหกรรมการผลิตไทยเพิ่มเติมอีกด้วย ผลการศึกษาพบว่า การลดภาษีตามข้อตกลงฯส่งผลให้การนำเข้าสินค้าจากประเทศจีนเพิ่มสูงขึ้น และอัตราการเติบโตของค่าใช้จ่ายในการขายและบริการของผู้ประกอบการไทยที่เพิ่มสูงขึ้นก็ส่งผลให้อัตราการกระจุกตัวของผู้ประกอบการสี่รายแรกลดลง ผลจากการศึกษาเชิงคุณภาพพบว่า ข้อตกลงการค้าเสรีฯส่งผลให้สินค้าเกรดล่างจากจีนเข้ามาแย่งส่วนแบ่งทางการตลาดไทยมากขึ้น ในขณะเดียวกันผู้ประกอบการไทยก็ได้รับประโยชน์จากการนำเข้าวัตถุดิบจากจีนได้ถูกลง ดังนั้นในระยะสั้นผู้ประกอบการผลิตไทยควรหันมาเน้นการผลิตสินค้าคุณภาพเกรดปานกลางถึงเกรดสูง และพยายามรักษามาตรฐานของสินค้าในระยะยาว ด้านรัฐบาลควรจัดทำแผนงานเพื่อเพิ่มพูนศักยภาพในการแข่งขันภายในประเทศ โดยพยายามพัฒนาทักษะฝีมือแรงงาน และสนับสนุนด้านการวิจัยและพัฒนา ในนโยบายระยะยาว |
en |
dc.description.abstractalternative |
The ASEAN-China FTA (ACFTA) may affect Thai manufacturing sector in many aspects. The purpose of this study is to examine how market structure of Thai manufacturing sector has changed since the implementation of the Agreement. This study uses the Clausing (2001)’s model to analyze the change in Thai trade pattern using the data between 2003 and 2008. The Levy (1985)’s model is applied to investigate the factors affecting the change in concentration ratio. The representatives of some Thai producer associations in manufacturing sectors are also interviewed. The results find that tariff reduction due to the ACFTA has increased the import from China. The growth of sale and service expenditure of Thai producers has increased so that concentration ratio of the top four firms decline. The qualitative study shows that after the implementation of ACFTA the low-grade products from China have gained higher market share while Thai producers have gained the benefit from cheaper raw materials. In the short run, Thai producers should concentrate on the medium to high grade products and maintain their standards in the long run. The government should set up programs to enhance competitiveness by upgrading skilled workers and promoting R&D for the long term policies. |
en |
dc.format.extent |
4113109 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
es |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.relation.uri |
http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1881 |
|
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
การค้าระหว่างประเทศ |
en |
dc.subject |
การพัฒนาเศรษฐกิจ |
en |
dc.subject |
นโยบายการค้า |
en |
dc.title |
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างตลาดภายหลังการใช้ข้อตกลงการค้าเสรีอาเซียน-จีน |
en |
dc.title.alternative |
Changes in market structure after the implementation of ASEAN - China free trade area (ACFTA) |
en |
dc.type |
Thesis |
es |
dc.degree.name |
เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต |
es |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
es |
dc.degree.discipline |
เศรษฐศาสตร์ |
es |
dc.degree.grantor |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.email.advisor |
Chayodom.S@chula.ac.th |
|
dc.identifier.DOI |
10.14457/CU.the.2010.1881 |
|