DSpace Repository

Removal and concentration of pyrene from contaminated soil using a phase separation of mixed cationic and anionic surfactants solution

Show simple item record

dc.contributor.advisor Punjaporn Weschayanwiwat
dc.contributor.advisor Scamehorn, John F.
dc.contributor.author Putchaya Thunhapran
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Graduate School
dc.date.accessioned 2012-06-19T03:33:04Z
dc.date.available 2012-06-19T03:33:04Z
dc.date.issued 2007
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20418
dc.description Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2007 en
dc.description.abstract A new approach using mixed cationic surfactant (DTAB) and anionic surfactant (DOWFAX) for pyrene removal from contaminated soil was proposed. In this study, surfactant adsorption onto soil and pyrene solubilization by pure DTAB, pure DOWFAX and mixtures of DTAB:DOWFAX at molar ratios of 1.5:1, 1:1, 1:1.5, and 1:2 were investigated. The results showed that DTAB adsorption onto soil increases with concentration, while DOWFAX does not adsorb onto soil. The DTAB:DOWFAX at all studied molar ratios showed the greater pyrene solubilization over those of DTAB and DOWFAX alone. From the surfactant adsorption and pyrene solubilization results, the DTAB:DOWFAX at 1:1 molar ratio was selected for further use to investigate the effects of total surfactants concentration and additives (CaCl2 and lipophilic linkers) addition on pyrene removal from contaminated soil. The results showed that the optimal surfactant formulation is DTAB:DOWFAX at 1:1 molar ratio with 20 mM total surfactants concentration, 0.025%wt CaCl2, and 1 mM dodecanol, where the highest pyrene removal of 87.5% was achieved. These surfactant systems with and without each additive were later on adjusted the molar ratio of DTAB:DOWFAX to induce the aqueous surfactant two-phase (ASTP) system to investigate the preconcentration ability. The results showed that the ASTP system formed by DTAB:DOWFAX at 2:1 molar ratio and 0.025%wt CaCl2 exhibited the best preconcentration ability, where most of pyrene and surfactants accumulate in a small volume of the surfactant-rich phase, and the pyrene and surfactant partition ratios were as high as 3,200. en
dc.description.abstractalternative การศึกษานี้เป็นการประเมินแนวทางใหม่ในการใช้สารละลายผสมของสารลดแรงตึงผิวชนิดประจุบวก (ดีแทบ) และชนิดประจุลบ (ดาวแฟ๊ก) เพื่อกำจัดไพรีนออกจากดิน การศึกษาการดูดซับของสารลดแรงตึงผิวบนดินและความสามารถในการละลายไพรีนโดยสารละลายดีแทบ สารละลายดาวแฟ๊ก และสารละลายผสมระหว่างดีแทบและดาวแฟ๊กที่อัตราส่วนผสมโดยโมลที่ 1.5:1, 1:1, 1:1.5 และ 1:2 พบว่าดีแทบดูดซับบนดินได้มากขึ้นเมื่อความเข้มข้นสูงขึ้น ขณะที่ดาวแฟ๊กไม่ดูดซับบนดิน สำหรับผลการศึกษาความสามารถในการละลายไพรีนโดยสารละลายของสารลดแรงตึงผิวพบว่า สารละลายผสมระหว่างดีแทบและดาวแฟ๊กที่อัตราส่วนผสมทุกอัตราส่วนมีความสามารถในการละลายไพรีนได้มากกว่าสารละลายดีแทบและสารละลายดาวแฟ๊กที่ไม่ได้ผสม ผลการศึกษาการดูดซับของสารลดแรงตึงผิวบนดินและความสามารถในการละลายไพรีนโดยสารละลายของสารลดแรงตึงผิวพบว่าสารละลายผสมระหว่างดีแทบและดาวแฟ๊กที่อัตราส่วนผสมโดยโมลที่ 1:1 ถูกเลือกเพื่อนำไปใช้ในการศึกษาผลของความเข้มข้นทั้งหมดของสารลดแรงตึงผิวผสมและตัวเติม (แคลเซียมคลอไรด์และตัวเชื่อมที่ชอบน้ำมัน) ต่อการกำจัดไพรีนออกจากดิน ผลการศึกษาพบว่าส่วนผสมของสารลดแรงตึงผิวที่เหมาะสมที่สุดที่สามารถกำจัดไพรีนออกจากดิน คือ สารละลายผสมระหว่างดีแทบและดาวแฟ๊กที่อัตราส่วนผสมโดยโมลที่ 1:1 ความเข้มข้นทั้งหมดของสารลดแรงตึงผิวผสม 20 มิลลิโมลาร์ แคลเซียมคลอไรด์ 0.025 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก และโดเดกคานอล 1 มิลลิโมลาร์ ซึ่งสามารถกำจัดไพรีนได้สูงสุดถึง 87.5 เปอร์เซ็นต์ หลังจากนั้นระบบของสารลดแรงตึงผิวผสมที่ประกอบด้วยตัวเติมแต่ละชนิดและไม่มีตัวเติมถูกปรับอัตราส่วนผสมโดยโมลของสารละลายผสมระหว่างดีแทบและดาวแฟ๊กเพื่อก่อให้เกิดการแบ่งวัฏภาคของสารละลายของสารลดแรงตึงผิวผสมนี้ และเพื่อศึกษาความสามารถในการเพิ่มความเข้มข้นของสารจากการแบ่งวัฏภาคดังกล่าว ผลการศึกษาพบว่าการแบ่งวัฏภาคโดยสารละลายผสมระหว่างดีแทบและดาวแฟ๊กที่อัตราส่วนผสมโดยโมลที่ 2:1 ที่ประกอบด้วยแคลเซียมคลอไรด์ 0.025 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก มีความสามารถในการทำให้สารเข้มข้นขึ้นได้ดีที่สุด ซึ่งไพรีนและสารลดแรงตึงผิวส่วนใหญ่จะสะสมอยู่ในวัฏภาคที่เข้มข้นไปด้วยสารลดแรงตึงผิว นอกจากนี้ยังพบว่าความสามารถในการเพิ่มความเข้มข้นของไพรีนและสารลดแรงตึงผิวสูงถึง 3,200 เท่าอีกด้วย en
dc.format.extent 1284299 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso en es
dc.publisher Chulalongkorn University en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1535
dc.rights Chulalongkorn University en
dc.subject Pyrenees en
dc.subject Surface active agents en
dc.subject Solubilization en
dc.title Removal and concentration of pyrene from contaminated soil using a phase separation of mixed cationic and anionic surfactants solution en
dc.title.alternative การกำจัดและแยกไพรีนออกจากดินปนเปื้อนโดยอาศัยการแบ่งวัฏภาคของสารละลายผสมของสารลดแรงตึงผิวชนิดประจุบวกและประจุลบ en
dc.type Thesis es
dc.degree.name Master of Science es
dc.degree.level Master's Degree es
dc.degree.discipline Environmental Management (Inter-Department) es
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en
dc.email.advisor Punjaporn.W@Chula.ac.th
dc.email.advisor scamehor@ou.edu
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2007.1535


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record