DSpace Repository

Debottlenecking of the airlift cultivation process for Chaetoceros calcitrans

Show simple item record

dc.contributor.advisor Prasert Pavasant
dc.contributor.advisor Sorawit Powtongsook
dc.contributor.author Puchong Sriouam
dc.contributor.other Chulalongkorn University. Faculty of Engineering
dc.date.accessioned 2012-06-19T04:08:58Z
dc.date.available 2012-06-19T04:08:58Z
dc.date.issued 2007
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20427
dc.description Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2007 en
dc.description.abstractalternative การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อขีดจำกัดในการเพาะเลี้ยงไดอะตอม คีโตเซอรรอส คาลซิแทรนซ์ เช่น สารอาหาร การบังแสงจากฟองอากาศ และการบังแสงจากตัวไดอะตอมเอง พบว่า การปรับเปลี่ยนปริมาณของสารที่เป็นองค์ประกอบในอาหารชนิด Modified F/2 medium ได้แก่ ซิลิกอน (โซเดียมซิลิเกต) ไนโตรเจน (ไนเตรต) และ ฟอสฟอรัส (ฟอสเฟต) ไม่ส่งผลต่อค่าความเข้มข้นเซลล์สูงสุด แต่กลับมีผลต่อค่าอัตราการเจริญเติบโตจำเพาะ (µ) การบังแสงจากจำนวนฟองอากาศที่มากเกินที่เกิดในส่วนของไหลไหลลง (Downcomer) ในระบบอากาศยก เรียกว่า “การบังแสงจากฟองอากาศ” ในการเพาะเลี้ยงคีโตเซอรอส คาลซิแทรนซ์ สามารถลดปัญหาการบังแสงจากฟองอากาศได้ด้วยการใช้ถังปฏิกรณ์ชีวภาพเชิงแสงที่มีการขยายขนาดของยอดหอ ซึ่งการแยกตัวของฟองอากาศจากของเหลวที่บริเวณยอดหอทำให้ความสามารถในการส่องผ่านของแสงเข้าสู่ระบบมีค่าสูงขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อเทียบกับการใช้ถังปฏิกรณ์เชิงแสงแบบเดิม จำนวนความเข้มข้นเซลล์สูงสุดที่ได้จากถังปฏิกรณ์แบบขยายขนาดยอดหอมิได้เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ในการเพาะเลี้ยงไดอะตอม พบว่ายังมีผลของ “การบังแสงจากตัวไดอะตอมเอง” ซึ่งเกิดจากการที่ความเข้มข้นของไดอะตอมมีค่ามาก มากจนบังแสงที่จะส่องเข้าไปข้างในถังปฏิกรณ์ส่งผลให้ไดอะตอมที่อยู่ด้านในได้รับปริมาณความเข้มแสงไม่เพียงพอที่จะสังเคราะห์แสง ในที่สุดไดอะตอมก็จะไม่เจริญเติบโตและได้ความเข้มข้นน้อย การใช้ถังปฏิกรณ์ขนาดเล็กและต่อกันแบบอนุกรมโดยเลี้ยงในระบบต่อเนื่องสามารถลดปัญหาการบังแสงจากตัวไดอะตอมได้ เนื่องจากไดอะตอมจะกระจายไปอยู่ในถังปฏิกรณ์แต่ละถังทำให้ความเข้มข้นในถังที่ 1 มีความเข้มข้นน้อยลง แสงส่องผ่านได้มากขึ้นส่งผลให้ไดอะตอมเจริญเติบโตได้มากขึ้น แต่อย่างไรก็ตาม จากการวิเคราะห์หาค่าความสามารถในการผลิตจำเพาะ (Specific productivity) พบว่าการเพาะเลี้ยงไดอะตอมในถังปฏิกรณ์ขนาดเล็กแบบถังเดียว ให้ค่าความสามารถในการผลิตจำเพาะสูงกว่าการเพาะเลี้ยงแบบ 3 ถังต่ออนุกรม en
dc.format.extent 1748378 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso en es
dc.publisher Chulalongkorn University en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1539
dc.rights Chulalongkorn University en
dc.subject Diatoms en
dc.title Debottlenecking of the airlift cultivation process for Chaetoceros calcitrans en
dc.title.alternative การลดขีดจำกัดของกระบวนการเลี้ยงคีโตเซอรอส คาลซิแทรนซ์ แบบอากาศยก en
dc.type Thesis es
dc.degree.name Master of Engineering es
dc.degree.level Master's Degree es
dc.degree.discipline Chemical Engineering es
dc.degree.grantor Chulalongkorn University en
dc.email.advisor prasert.p@chula.ac.th
dc.email.advisor Sorawit.P@chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2007.1539


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record