dc.description.abstract |
EXP I was conducted to determine the differences in lipid and fatty acid (FA) composition of boar sperm and seminal plasma in the ejaculates of boars having different sperm motilities. Semen was collected from two groups of boars having >60% (n=53) and <60% (n=53) sperm motility and separated the sperm from the seminal plasma. Both fractions were kept in -20°C until analyzed for lipid content and FA profile by gas liquid chromatography. Total antioxidant status (TAS) of seminal plasma was determined using a commercial kit. The results demonstrated that there were differences in sperm total lipids, cholesterol, saturated fatty acids (SFA), phospholipids, n-3 polyunsaturated fatty acids (PUFA), docosahexaenoic acid (DHA) and the ratio of n-6:n-3 PUFA between normal and low sperm motility boars (P<0.05), and there were positive correlations among total lipids, cholesterol, phospholipids, PUFA, DHA, n-3 PUFA and TAS of seminal plasma with sperm motility (n=159; P<0.05: r=0.53, 0.60, 0.73, 0.57, 0.42, 0.56 respectively), viability (n=159; P<0.05; r=0.16, 0.28, 0.38 , 0.33, 0.24, 0.28 respectively), normal morphology (n=159; P<0.05; r=0.34, 0.63, 0.75, 0.57, 0.41, 0.54 respectively) and normal plasma membrane (n=159; P<0.05; r=0.34, 0.63, 0.76, 0.59, 0.43, 0.58 respectively). Therefore, these results indicated that lipid composition of boar sperm can influence sperm motility, viability, normal morphology and plasma membrane integrity. EXP II was conducted to compare viability, lipid peroxidation, fatty acid composition of boar spermatozoa and antioxidant capacity of seminal plasma between >50% (n=10) and <50% (n=10) of sperm motility groups at 24 h of cool storage. Semen was collected from all boars once a week for 3 wks and the semen evaluated for motility, sperm concentration, and total number of sperm, percentage of normal morphology and membrane permeability, and viability. Sperm was extracted and analysed for lipid profiles, lipid peroxide and total antioxidant was determine in the extender at 0 and 24 h. The results demonstrated the decreasing of total lipid, proportion of cholesterol in sperm membranes, TAS and showed that increasing of LPO level have a cause in reduction in motility, viability, membrane permeability and hence, storability of sperm
EXP III was conducted to determine the effect of fish oil, vitamins and selenium on-top feed supplemented on boar spermatozoa lipid composition and semen quality. Twenty one boars were assigned for this experiment. All boars were randomly divided into three experimental groups: 1) supplemented diet for 8 weeks (n=7); 2) supplemented diet for 16 weeks (n=7) and 3) control (n=7). Fish oil (40 ml), vitamin E (480 iu), vitamin C (2,400 mg) and selenium (0.3 mg) were given once a day by on-top feeding. The semen was collected from all boars using the glove-hand method once a week starting from 7 weeks prior to the supplementation and continues for a total of 23 collections per boar. Semen was evaluated and centrifuged to separate the sperm from seminal plasma and kept at -20°C until analyzed sperm pellet for lipid content, FA profile. The seminal plasma was analyzed for total antioxidant status and glutathione peroxidase (GPX) using a commercial kit. The results indicated that, when compared among the control group and groups supplemented with fish oil for 8 and 16 weeks, the number of total sperm (70.84 vs. 71.69 and 71.35 x109 sperm respectively; P<0.05), semen volume (290.14 vs. 341.60 and 326.24 ml respectively; P<0.05), Proportion of DHA (14.91 vs. 16.21 and 16.16% respectively; P<0.05), and total n-3 (14.12 vs. 16.82 and 16.95% respectively; P<0.05) in sperm composition were increased in boar fed a supplemented diet. Duration of ejaculation (374.82 vs. 439.01 and 419.30 sec respectively; P<0.05) was longer and glutathione peroxidase in seminal plasma (1.22 vs. 1.45 and 1.51 mmol/ml respectively; P<0.05) was improved, in the boars fed a diet supplemented diet comparing with the control group. |
|
dc.description.abstractalternative |
การทดลองที่ 1 ศึกษาเพื่อหาความแตกต่างของไขมันและกรดไขมันไม่อิ่มตัวในองค์ประกอบของตัวอสุจิและน้ำเลี้ย งอสุจิใน พ่อสุกรที่มีการเคลื่อนไหวของตัวอสุจิที่ต่างกัน รีดเก็บน้ำเชือ้ จากพ่อสุกรที่มีอัตราการเคลื่อนไหวของตัวอสุจิ >60% (53 ตัว) และอัตรา การเคลื่อนไหวของตัวอสุจิ <60% (53 ตัว) แยกอสุจิออกจากน้ำเลี้ยงอสุจิ และเก็บที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส จนกระทั้ง นำไปตรวจ วิเคราะห์องค์ประกอบไขมันโดยวิธีก๊าซโครมาโตรกราฟี ตรวจหาสารต้านอนุมูลอิสระของน้ำเลี้ยงเชื้อ โดยใช้ชุดตรวจสำเร็จรูป ผล การศึกษาพบว่ามีความแตกต่างของปริมาณไขมันรวม คอเลสเตอรอล กรดไขมันอิ่มตัว กรดไขมันอิ่มตัวชนิด โอเมก้า 3 ดีเอชเอและ อัตราส่วนระหว่างกรดไขมันอิ่มตัวชนิด โอเมก้า 6 ต่อ 3 ระหว่างน้ำเชื้อ ที่มีอัตราการเคลื่อนไหวของตัวอสุจิ>60%และ<60% (P<0.05) พบความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างปริมาณไขมันรวม คอเลสเตอรอล กรดไขมันอิ่มตัว ดีเอชเอ กรดไขมันอิ่มตัวชนิด โอเมก้า 3 ในตัวอสุจิ และสารต้านอนุมูลอิสระของน้ำเลี้ยงเชื้อ กับอัตราการเคลื่อนไหว (n=159; P<0.05; r=0.34, 0.63, 0.76, 0.59, 0.43, 0.58 ตามลำดับ) การมีชีวิต (n=159; P<0.05; r=0.34, 0.63, 0.75, 0.57, 0.41, 0.54 ตามลำดับ) ลักษณะปกติ (n=159; P<0.05; r=0.16, 0.28, 0.38 , 0.33, 0.24, 0.28 ตามลำดับ) และความสมบูรณ์ของเยื่อหุ้มเซลล์ของตัวอสุจิ (n=159; P<0.05: r=0.53, 0.60, 0.73, 0.57, 0.42, 0.56 ตามลำดับ) ผลการทดลองบ่งชี้องค์ประกอบไขมันในตัวอสุจิอาจมีผลต่ออัตราการเคลื่อนไหวของตัวอสุจิ การมีชีวิต ลักษณะปกติและ ความสมบูรณ์ของเยื่อหุ้มเซลล์ของตัวอสุจิ การทดลองที่ 2 ศึกษาเปรียบเทียบการมีชีวิต ไลปิดเปอร์ออกซิเดชั่น องค์ประกอบไขมันในตัวอสุจิสุกรและสารต้านอนุมูล อิสระระหว่างกลุ่มที่มีการเคลื่อนไหวของตัวอสุจิ >50% (10 ตัว) และ <50% (10 ตัว) เมื่อเก็บรักษาด้วยการแช่เย็น 24 ชั่วโมง น้ำเชื้อถูกรีดเก็บจากพ่อสุกรทุกตัว 1 ครั้งต่อสัปดาห์เป็นเวลา 3 สัปดาห์ ตรวจอัตราการเคลื่อนไหว ความเข้มข้น จำนวนตัวอสุจิทัง้หมด ความปกติ อัตราการมีชีวิตและความสมบูรณ์ของเยื่อหุ้มเซลล์ของตัวอสุจิ ตัวอสุจิถูกสกัดและวิเคราะห์เพื่อหาองค์ประกอบไขมัน และตรวจหา ปริมาณไลปิดเปอร์ออกซิเดชนั่นในตัวอสุจิและสารต้านอนุมูลอิสระในสารละลายน้ำเชื้อ จากน้ำเชื้อ ที่แช่เย็น 0 และ 24 ชั่ว โมง ผลการ ทดลองพบว่าการลดลงของปริมาณไขมันรวม อัตราส่วนคอเลสเตอรอลในตัวอสุจิ สารต้านอนุมูลอิสระในสารละลายน้ำ เชื้อ และการเพิ่มขึ้นของไลปิดเปอร์ออกซิเดชั่นในตัวอสุจิ เป็นสาเหตุให้เกิดการลดลงของอัตราเคลื่อนไหว การมีชีวิต ความสมบูรณ์ของเยื่อหุ้มเซลล์ และคุณสมบัติการเก็บรักษา
การทดลองที่ 3 การศึกษาผลของน้ำมันปลา วิตามินและซีลิเนียมต่อองค์ประกอบไขมันของตัวอสุจิและคุณภาพน้ำเชื้อ ใช้พ่อสุกรจำนวน 21 ตัวในการศึกษานี้ สุกรถูกแบ่งเป็น 3 กลุ่มแบบสุ่ม กลุ่มที่ 1 ให้อาหารเสริมเป็นเวลา 8 สัปดาห์ (7ตัว) กลุ่มที่ 2 ให้ อาหารเสริมเป็นเวลา 16 สัปดาห์ (7ตัว) และกลุ่มที่ 3 กลุ่มควบคุม (7ตัว) อาหารเสริมประกอบด้วยน้ำมันปลา 40 มิลลิลิตร วิตามินอี 480 ไอยู วิตามินซี 2,400 มิลลิกรัม และซีลิเนียม 300 มิลลิกรัม และให้ 1 ครั้งต่อวัน เก็บน้ำเชือ้ จากพ่อสุกรทุกตัว สัปดาห์ละหนึ่งครั้งโดย ใช้ถุงมือรีดเก็บเริ่มต้นตั้งแต่ 7 สัปดาห์ก่อนให้อาหารเสริมจนกระทั่งสิ้นสุดการทดลองรวม 23 ครั้งต่อตัว ตรวจคุณภาพน้ำเชื้อ แยกตัวอสุจิจากน้ำเลี้ย งเชื้อ ด้วยเครื่องปั่นเหวี่ยงและเก็บที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียสจนกระทั่ง วิเคราะห์หาองค์ประกอบไขมันและกรดไขมัน อิ่มตัวในตัวอสุจิและตรวจหาสารต้านอนุมูลอิสระ กลูตาไทโอนเปอร์ออกซิเดสโดยใช้ชุดตรวจสำเร็จรูป จากการศึกษาเปรียบเทียบ ระหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มที่ได้รับอาหารเสริม 8 และ 16 สัปดาห์ ผลการทดลองพบว่าจำนวนตัวอสุจิทัง้ หมด (70.84 เปรียบเทียบกับ 71.69 และ 71.35 พันล้านตัว ตามลำดับ; P<0.05) ปริมาตรน้ำเชื้อ (290.14 เปรียบเทียบกับ 341.60 และ 326.24 มิลลิลิตร ตามลำดับ; P<0.05) อัตราส่วนดีเอชเอ (14.91 เปรียบเทียบกับ 16.21 และ 16.16% ตามลำดับ; P<0.05) และกรดไขมันไม่อิ่มตัวชนิดโอเมก้า 3 (14.12 เปรียบเทียบกับ 16.82 และ 16.95% ตามลำดับ; P<0.05) ในตัวอสุจิเพิ่มขึ้น ระยะเวลาที่หลั่งน้ำเชื้อยาวนานขึ้น (374.82 เปรียบเทียบกับ 439.01 และ 419.30 วินาที ตามลำดับ; P<0.05) และปริมาณกลูตาไทโอนเปอร์ออกซิเดสในน้ำเลี้ยงเชื้อ เพิ่มขึ้น (1.22 เปรียบเทียบกับ 1.45 และ 1.51 มิลลิโมลต่อมิลลิลิตร ตามลำดับ; P<0.05) ในพ่อสุกรที่ได้รับอาหารเสริมเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม |
|