dc.contributor.author |
สุเมธ ชวเดช |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี |
|
dc.date.accessioned |
2006-05-31T10:56:32Z |
|
dc.date.available |
2006-05-31T10:56:32Z |
|
dc.date.issued |
2540 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/218 |
|
dc.description.abstract |
วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ เพื่อพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะเงินสำหรับฆ่าเชื้อโรคในน้ำ โดยทำการเตรียมอนุภาคโลหะเงินบนผิววัสดุ 2 ชนิด ได้แก่ โมโนลิท ซึ่งมีลักษณะคล้ายรังผึ้งทำจากเซรามิคเคลือบด้วยอลูมินา และเม็ดอลูมินา ซึ่งมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 มม โดยในการเตรียมอนุภาคโลหะเงินใช้ 2 วิธี คือ การรีดิวซ์ด้วยสารละลายฟอร์มัลดีไฮด์ และการรีดิวซ์ด้วยความร้อน เมื่อทำการทดลองผ่านน้ำตัวอย่างพบการหลุดของโลหะเงินจากพื้นผิวโมโนลิท แต่ไม่พบการหลุดของโลหะเงินจากเม็ดอลูมินา ดังนั้นในการประยุกต์ใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะเงินนี้ ควรเลือกใช้เม็ดอลูมินาเป็นวัสดุให้โลหะเงินยึดเกาะ และการเตรียมอนุภาคโลหะเงิน ควรเตรียมด้วยวิธีรีดิวซ์ด้วยความร้อนที่ 800 ? ซ ปริมาณโลหะเงิน 3-5 % และเวลาสัมผัสประมาณ 10 วินาที สำหรับปริมาณเชื้อโรค 10 [superscript 7] / 100 มล |
en |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this research project was to develop silver catalyst for disinfection in water. Two type of supporting materials for silver deposition were monolith and alumina pellets to be tested in these studies. The monolith used has a square channel structure with alumina washcoat. The alumina pellets used has a diameter of 5 mm. Two preparation methods of silver catalyst were thealdehyde reduction and the thermal reduction. It was found that a significant amount of the silver on the monolith's surface lost out to the passing water while there was no loss of silver from the alumina pellets. Percentage of E.coli killing increased significantly with both increases of the silver loading and the contact time. For the application of silver catalyst for disinfection, it is suggested to select alumina pellets as a supporting surface for silver catalyst which is prepared by the thermal reduction at 800 ? C. The silver loading of 3-5% and the contact time of 10 second are recommended for disinfecting water containing E.coli. of 10[superscript 7]/100 ml. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนอุดหนุนการวิจัยประเภทกำหนดเรื่องประจำปี 2539 จากสำนักงานคณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ |
en |
dc.format.extent |
9090740 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
ตัวเร่งปฏิกิริยา |
en |
dc.subject |
โลหะเงิน |
en |
dc.subject |
จุลินทรีย์ |
en |
dc.title |
การพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาโลหะเงินเพื่อฆ่าเชื้อโรค |
en |
dc.title.alternative |
Development of silver catalyst for disinfection |
en |
dc.type |
Technical Report |
en |
dc.email.author |
Sumaeth.C@chula.ac.th |
|