DSpace Repository

การพัฒนาการดัดแปลงใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนกับยานพาหนะ

Show simple item record

dc.contributor.advisor กุลธร ศิลปบรรเลง
dc.contributor.advisor ดำรงศักดิ์ มะลิลา
dc.contributor.author วิทยา ยงเจริญ
dc.contributor.author ฉัตรชัย หงษ์อุเทน
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล
dc.date.accessioned 2006-08-25T10:09:01Z
dc.date.available 2006-08-25T10:09:01Z
dc.date.issued 2546
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2196
dc.description เสนอคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ en
dc.description.abstract งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยประยุกต์มีวัตถุประสงค์ เพื่อดัดแปลงใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนกับยานพาหนะ โดยเน้นด้านความปลอดภัยของการใช้ถังบรรจุเชื้อเพลิงไฮโดรเจน จากการศึกษาถึงวิธีการจัดเก็บเชื้อเพลิงไฮโดรเจนพบว่าการเก็บในรูปเมทัลไฮไดรด์ชนิดอุณหภูมิใช้งานต่ำมีความปลอดภัยสูงจึงได้เลือกใช้ถังเมทัลไฮไดรด์ ในงานวิจัยนี้ การทดสอบสมรรถนะของถังจะแบ่งเป็น 2 ขั้นตอนโดยในขั้นตอนแรกเป็นการทดสอบคุณสมบัติในการอัดบรรจุและการจ่ายของถังเพื่อใช้ในการวางระบบเชื้อเพลิงและระบบน้ำหล่อเย็นของถัง ในขั้นตอนที่สองจะเป็นการทดสอบสมรรถนะของถังเมทัลไฮไดรด์ขณะใช้กับรถไฮโดรเจน ผลการทดสอบสามารถสรุปได้ว่าถังเมทัลไฮไดรด์ สามารถใช้กับรถไฮโดรเจนได้เป็นอย่างดี สามารถจ่ายเชื้อเพลิงให้แก่เครื่องยนต์ได้เมื่อเริ่มออกตัวในขณะที่เครื่องยนต์และน้ำหล่อเย็นมีอุณหภูมิเท่าอุณหภูมิห้องและขณะวิ่งที่ภาระต่างๆ เนื่องจากน้ำหล่อเย็นเครื่องยนต์มีอุณหภูมิสูงขึ้น การจ่ายเชื้อเพลิงไฮโดรเจนจึงเป็นไปได้อย่างต่อเนื่อง การบรรจุเชื้อเพลิงใช้เวลาประมาณ 10-20 นาที ซึ่งเป็นระยะเวลาที่ยอมรับได้ ถังเมทัลไฮไดรด์จะมีขนาดเล็กกว่าถังแบบความดันสูงแต่มีน้ำหนักจะใกล้เคียงกัน en
dc.description.abstractalternative The objective of this applied research is to modifying a vehicle to be used with hydrogen as a fuel. The emphasis of the study is to design a large scale safes, and practical fuel storage tank for the hydrogen. It is found from this study that the metal hydride is the safest material to be used. There are two stages in this study. The first stage is an experimentation of charging and discharging the hydrogen from the tank to supporting the design of the fuel and water cooling system. In the second stage, the testing was done on the vehicle at various loads. The result can be concluded as the following : the metal hydride tank is potentially most effective with vehicle using hydrogen as a fuel. It can release hydrogen to engine when being started while the temperature of both the engine and the cooling water are at room temperature. In addition it can release hydrogen well when the engine run at the various loads. As the cooling water is heated up the hydrogen release can be done continuously. The charging time of the metal hydride tank takes up approximately 10-20 minutes which is in the acceptable range of time. Athough the metal hydrid tank is rather small in comparison to normal high pressure tank, but its weight is comparatively not too much different. en
dc.description.sponsorship ทุนสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติและสำนักงบประมาณ งบประมาณแผ่นดิน 2543 en
dc.format.extent 27013037 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject เชื้อเพลิงไฮโดรเจน en
dc.subject รถยนต์ไฮโดรเจน en
dc.title การพัฒนาการดัดแปลงใช้เชื้อเพลิงไฮโดรเจนกับยานพาหนะ en
dc.type Technical Report en
dc.email.author fmewyc@eng.chula.ac.th
dc.email.author fmechu@eng.chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record