dc.contributor.author |
บรรยง โตประเสริฐพงศ์ |
|
dc.contributor.author |
มนตรี สวัสดิ์ศฤงฆาร |
|
dc.contributor.author |
เกรียงศักดิ์ เฉลิมติระกูล |
|
dc.contributor.author |
สมศักดิ์ ปัญญาแก้ว |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า |
|
dc.contributor.other |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า |
|
dc.date.accessioned |
2006-08-25T12:06:41Z |
|
dc.date.available |
2006-08-25T12:06:41Z |
|
dc.date.issued |
2531 |
|
dc.identifier.uri |
http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2203 |
|
dc.description.abstract |
ได้มีการสร้างเซลล์แสงอาทิตย์แบบหัวต่อพี-เอ็นลงบนแว่นผลึกของโพลีคริสตัลไลน์ซิลิคอนชนิดพี ซึ่งมีความหนา 400 ไมครอน และมีความต้านทานแผ่น 80 omega/ โดยได้เน้นที่ 3 ขั้นตอนการผลิตคือ (i) เทคนิคการเตรียมแว่นผลึก (ii) การใช้สารเคมีกัดชั้นที่ถูกแพร่ซึมเพื่อลดผลของ dead layer และควบคุมความลึกของหัวต่อ และ (iii) เทคนิคการชุบตะกั่วบัดกรี ผลการวัดภายใต้แสงอาทิตย์พบว่าเซลล์แสงอาทิตย์ที่สร้างขึ้นมีกระแสมืดน้อยมากจนสังเกตแทบไม่เห็น ประสิทธิภาพของเซลล์แสงอาทิตย์ที่สร้างขึ้นจะเพิ่มขึ้นเมื่อความลึกของหัวต่อน้อยลง และจะลดลงเมื่ออุณหภูมิของเซลล์แสงอาทิตย์เพิ่มขึ้น ประสิทธิภาพสูงสุดวัดได้ 9.97 เปอร์เซ็นต์ และค่าฟิลล์แฟกเตอร์ดีที่สุด มีค่า 0.776 เมื่ออุณหภูมิของเซลล์แสงอาทิตย์เท่ากับ 22 องศาเซลเซียส |
en |
dc.description.abstractalternative |
PN junction polycrystalline solar cells were fabricated on p-type silicon substrates with 400 microns thickness and sheet resistance of 80 omega/ . The fabrication processes were emphasized on the following 3 steps. (i) Wafer preparation technique. (ii) Using the chemical etchant to etch the diffused layer to eliminate the dead layer effect and to control the junction depth. And (iii) plating technique using Tin-Lead Solder. The experimental results under sun light showed that solar cells fabricated had negligible dark current. The solar cells efficiency increased with decreasing junction depth and decreased with increasing cells terperature. The maximum efficiency was measured to be 9.97 percent and the best fill factor to be 0.776 at cell temperature of 22 degree celsius. |
en |
dc.description.sponsorship |
ทุนสถาบันวิจัยและพัฒนาของคณะวิศวกรรมศาสตร์ |
en |
dc.format.extent |
9964936 bytes |
|
dc.format.mimetype |
application/pdf |
|
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.rights |
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
en |
dc.subject |
เซลล์แสงอาทิตย์ |
en |
dc.subject |
ผลึก |
en |
dc.subject |
สารกึ่งตัวนำ |
en |
dc.title |
การปรับปรุงกระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ของเซลล์แสงอาทิตย์ ที่ทำจากซิลิคอนแบบโพลีคริสตัลไลน์ |
en |
dc.title.alternative |
Process improvement to increase the efficiency of polycrystalline silicon solar cells |
en |
dc.type |
Technical Report |
en |
dc.email.author |
feebtp@eng.chula.ac.th, Banyong.T@Chula.ac.th |
|
dc.email.author |
Montri.s@chula.ac.th |
|
dc.email.author |
feespy@kankrow.eng.chula.ac.th, Somsak.P@Chula.ac.th |
|