DSpace Repository

ผลกระทบของระดับความเบ้ของค่าความคลาดเคลื่อนจากการแจกแจงแกมม่าสำหรับการประมาณพารามิเตอร์ในตัวแบบอนุกรมเวลา

Show simple item record

dc.contributor.advisor อนุภาพ สมบูรณ์สวัสดี
dc.contributor.author นพดล แดงจันทร์
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
dc.date.accessioned 2012-09-09T10:10:52Z
dc.date.available 2012-09-09T10:10:52Z
dc.date.issued 2554
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22043
dc.description วิทยานิพนธ์ (สต.ม.)-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 en
dc.description.abstract ในการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาผลกระทบของความเบ้ของค่าความคลาดเคลื่อนจากการแจกแจงแกมม่าสำหรับการประมาณพารามิเตอร์ในตัวแบบอนุกรมเวลา โดยเปรียบเทียบค่าความเอนเอียง (Bias) และค่าความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ย (MSE) ของตัวประมาณพารามิเตอร์ ในแต่ละระดับความเบ้ของค่าความคลาดเคลื่อน โดยการจําลองข้อมูลและการวิเคราะห์ผลการศึกษาทําโดยใช้โปรแกรม R จากการวิจัยพบว่าทั้งค่าความเอนเอียงและค่าความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ยของตัวประมาณพารามิเตอร์ มีค่าเปลี่ยนไปเพียงเล็กน้อย เมื่อระดับความเบ้ของค่าความคลาดเคลื่อนเปลี่ยน ค่าความเอนเอียงและค่าความคลาดเคลื่อนกำลังสองเฉลี่ยของตัวประมาณมีแนวโน้มที่จะลู่เข้าสู่ค่าเดียวกันโดยไม่ขึ้นอยู่กับระดับความเบ้ของค่าความคาดเคลื่อน ในทุกกรณีที่ทำการศึกษา พบว่าการแจกแจงของตัวประมาณในแต่สถานการณ์มีลักษณะคล้ายคลึงกัน และมีการแจกแจงโดยประมาณแบบปกติ ผลสรุปในภาพรวมแล้วพบว่า ความเบ้ของค่าความคลาดเคลื่อนจากการแจกแจงแกมม่านั้นไม่มีผลกระทบต่อการประมาณค่าพารามิเตอร์ในตัวแบบอนุกรมเวลา en
dc.description.abstractalternative The purpose of this research is to study the impact of skewness level of error from Gamma distribution for parameter estimation in time series model. The Biases and Mean Square Error’s (MSEs) of parameter estimators are being compared in each skewness level. The R program is used to simulate the data and to analyze the result. From the study, we find that both Biases and MSEs of the parameter estimators only change a little as the skewness level of error of changes. The Biases and MSEs of the estimators tend to converge to the same values regardless of the skewness level of the error. In all scenarios, the distributions of parameter estimators are similar and approximately normal.In conclusion, the skewness level of error from Gamma distribution does not affect on parameter estimation in time series model. en
dc.format.extent 1523662 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th es
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.relation.uri http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.663
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject การวิเคราะห์อนุกรมเวลา en
dc.subject การแจกแจง (ทฤษฎีความน่าจะเป็น) en
dc.title ผลกระทบของระดับความเบ้ของค่าความคลาดเคลื่อนจากการแจกแจงแกมม่าสำหรับการประมาณพารามิเตอร์ในตัวแบบอนุกรมเวลา en
dc.title.alternative Impact of skewness level of error from gamma distribution for parameter estimation in time series mode en
dc.type Thesis es
dc.degree.name สถิติศาสตรมหาบัณฑิต es
dc.degree.level ปริญญาโท es
dc.degree.discipline สถิติ es
dc.degree.grantor จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.email.advisor Anupap.S@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI 10.14457/CU.the.2011.663


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record