DSpace Repository

การออกแบบและทดลองระบบฟรอทโฟลเทชัน สำหรับการบำบัดน้ำเสีย : รายงานฉบับสมบูรณ์

Show simple item record

dc.contributor.author สุเมธ ชวเดช
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยาลัยปิโตรเลียมและปิโตรเคมี
dc.date.accessioned 2006-05-31T11:07:11Z
dc.date.available 2006-05-31T11:07:11Z
dc.date.issued 2541
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/220
dc.description.abstract วัตถุประสงค์ของการศึกษานี้ เพื่อหาสภาวะการทำงานที่เหมาะสมในการบำบัดน้ำเสียดีโอพีและน้ำเสียสถานีบริการน้ำมัน โดยกระบวนการทำให้เป็นฟองลอย สารลดแรงตึงผิวที่ใช้ในการศึกษาการบำบัดดีโอพี คือ โซเดียมโดเดคซิลซัลเฟต(เอสดีเอส) เซทิลไตรเมทิลแอมโมเนียมโปรไมด์(ซีทีเอบี) และโนนิลฟินอลเอทอกซีเลท(ทีอีอาร์ไอซี เอ็น10) ในกรณีการบำบัดน้ำเสียสถานีสถานีบริการน้ำมันจะใช้สารแคทอิออนิกพอลิอิเล็คโทรไลต์ ได้แก่ เบ็ทซ์โนวัสพอลิเมอร์ 2680 ถังทดลองต้นแบบทำด้วยเหล็กไร้สนิม แบ่งเป็น 3 ส่วน มีความจุรวม 16 ลิตร ส่วนบนองถังมีเครื่องกวาดฟอง จากผลการทดลองพบว่า สำหรับน้ำเสียสังเคราะห์ ประสิทธิภาพการบำบัดขึ้น กับเวลาเก็บกัก ชนิดและความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิว โดยสารลดแรงตึงผิวเอสดีเอสให้ประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียสูงสุด สภาวะการทำงานที่เหมาะสมสำหรับบำบัดน้ำเสียสังเคราะห์ ได้แก่ เวลาเก็บกักเท่ากับ 0.5 ชั่วโมง และความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิวเอสดีเอสเท่ากับ 1 เท่าของค่าความเข้มข้นวิกฤตของการเกิดไมเซลล์ ซีเอ็มซี สำหรับน้ำเสียจริงดีโอพี เมื่อเติมสารลดแรงตึงผิว 1 เท่าของค่าซีเอ็มซี ประสิทธิภาพการบำบัดสารดีโอพี และซีโอดีเท่ากับ 14.90 และ 10.50 เปอร์เซ็น ตามลำดับ สำหรับน้ำเสียสถานีบริการ เมื่อเติมสารแคทอิออนิกพอลิอิเล็คโทรไลต์ที่ความเข้มข้นเท่ากับ 150 มิลลิกรัมต่อลิตร ประสิทธิภาพการกำจัดน้ำมันเท่ากับ 70 เปอร์เซ็นต์ en
dc.description.abstractalternative The objective of this study was to determine the optimum conditions for treating DOP wastewater and petrol-station wastewater by using froth flotation process. Surfactants used for studying the treatment of DOP wastewater were sodium dodecyl sulfate(SDS), cetyltrimethyl ammonium bromide (CTAB) and nonylphenol ethoxylateNP(EO)10. In the case of treatment of petrol-station wastewater, cationic polyelectrolyte used was BETZ NOVUS POLYMER 2680. The flotation unit made of stainless steel compartments in series, total working volume of 16 litres and a scraper on the top of the flotation tank for removal for remove of the foam. Form the experimental results, it was found that, for the synthetic wastewater, the treatment efficiency depended upon the hydraulic retention time, type and concentration of surfactant used, An addition of SDS gave highest treatment efficiency. The optimum conditions for treating the synthetic wastewater were HRT of the 0.5h and the SDS concentration of 1 CMC. The treatment efficiencies for DOP and COD removals were 14.90% and 10.50%, respectively. In the case of petrol-station wastewater, the treatment efficiency was 70% when the cationic polyelectrolyte concentration of 150 mg/l was used en
dc.description.sponsorship ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2539 en
dc.format.extent 4461757 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject สารลดแรงตึงผิว en
dc.subject น้ำเสีย--การบำบัด en
dc.subject กระบวนการทำให้เป็นฟองลอย en
dc.title การออกแบบและทดลองระบบฟรอทโฟลเทชัน สำหรับการบำบัดน้ำเสีย : รายงานฉบับสมบูรณ์ en
dc.title.alternative Design and test of froth flotation system for wastewater treatment en
dc.type Technical Report en
dc.email.author Sumaeth.C@chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record