DSpace Repository

การวางแผนทั้งระบบในการเปิดหน้างานขุดเจาะโดยใช้วัตถุระเบิด : รายงานฉบับสมบูรณ์

Show simple item record

dc.contributor.author สง่า ตั้งชวาล
dc.contributor.other จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเหมืองแร่และปิโตรเลียม
dc.date.accessioned 2006-08-26T08:28:09Z
dc.date.available 2006-08-26T08:28:09Z
dc.date.issued 2543
dc.identifier.uri http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2243
dc.description การวางแผนทั่วไปของงานขุดเจาะโดยใช้วัตถุระเบิด -- ระบบเชิงความปลอดภัยของการใช้วัตถุระเบิด -- ระบบเชิงป้องกันผลกระทบของการใช้วัตถุระเบิด -- ระบบเชิงเศรษฐศาสตร์ของการใช้วัตถุระเบิด -- กรณีศึกษาของการขุดเจจาะโดยใช้วัตถุระเบิด -- บทสรุปแนวทางการจัดการของการขุดเจาะโดยใช้วัตถุระเบิด en
dc.description.abstract การวางแผนใช้วัตถุระเบิดในงานขุดเจาะของแหล่งก่อสร้างได้มีการทบทวน จากนั้นนำข้อเด่นของผลลัพธ์ที่ได้มาประยุกต์กับงานภาคสนามของประเทศไทย ปัจจัยหลักของการวางแผนทั้งระบบ มี 3 ส่วนหลัก ได้แก่ ความปลอดภัยในการทำงาน การป้องกันเชิงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม เศรษฐศาสตร์ของการขุดเจาะเชิงค่าใช้จ่ายของการปฏิบัติการข้อมูลดิบที่ใช้ในการวิเคราะห์ เป็นการศึกษาตรวจวัดค่าตัวแปรกับองค์ประกอบต่างๆ ในภาคสนามทั้งที่เป็นส่วนของโครงการนี้ กับเป็นส่วนการศึกษาที่ทีมงานวิจัยได้ทำการศึกษามาก่อนและเป็นข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องกับโครงการนี้ สารสนเทศต่างๆ ทั้งของในประเทศและต่างประเทศ ถูกรวบรวมมาเปรียบเทียบค้นหาค่าเหมาะที่สุดของงานขุดเจาะ โดยใช้วัตถุระเบิด กรณีศึกษาที่ระบุไว้ในส่วนวิเคราะห์ผลโครงการนี้ ไม่ได้เน้นประเมินผลที่เหมืองเปิดเหมืองใดเหมืองหนึ่ง แต่ประเมินผลตามขนาดของการปฏิบัติการขุดเจาะ แบบแผนและวิธีการแก้ไขป้องกันได้มีการจำแนกแต่ละประเด็นหลัก สำหรับเรื่องความปลอดภัยผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และต้นทุนส่วนเพิ่มของการปฏิบัติการ จุดมุ่งหมายหวังว่าจะใช้เป็นต้นแบบของการเปิดหน้างานขุดเจาะโดยใช้วัตถุระเบิด en
dc.description.abstractalternative Site excavation planning using explosives were reviewed. Further, the distinguished results were applied for field works in Thailand. Important factors for system planning are divided into 3 main groups; these are, safety in workings, protection for impacts to environment, economics of excavation due to cost of operation. Data used in the analysis are either belong to this project or belong to associated works that the research team involved. Both sources of information from inside and outside this country are compared and searched for the optimum of excavation using explosives. Case studies in the discussion section do not intend to evaluate for any particular open pit mine, but evaluation based on the size of operation. Pattern and prevention methods are classified for each main category: for safety, impacts to environment, and marginal cost of operation. These expect to be a prototype for the site excavation using explosives. en
dc.description.sponsorship ทุนส่งเสริมการวิจัยด้วยงบประมาณแผ่นดิน ปี 2543 en
dc.format.extent 54679479 bytes
dc.format.mimetype application/pdf
dc.language.iso th en
dc.publisher จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.rights จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย en
dc.subject การขุดเจาะ en
dc.subject วัตถุระเบิด en
dc.title การวางแผนทั้งระบบในการเปิดหน้างานขุดเจาะโดยใช้วัตถุระเบิด : รายงานฉบับสมบูรณ์ en
dc.title.alternative Mine planning system for the site excavation using explosives en
dc.type Technical Report en
dc.email.author fmnstc@kankrow.eng.chula.ac.th, Sanga.T@Chula.ac.th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record